blog-hdr.gif

Integrity Legal

Archive for the ‘US Visa and Immigration’ Category

23rd April 2010

For information in English please see: I-212.

สำหรับผู้ที่เข้าประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยวีซ่าชั่วคราว มักจะต้องมีเจตนาไม่ต้องการอพยพเป็นหลัก หมายความว่า ผู้ที่เข้าประเทศจะต้องตั้งใจว่าจะอยู่ในสหรัฐอเมริกาเป็นการชั่วคราว และไม่มีเจตนาจะลงหลักปักฐานในสหรัฐอเมริกาเป็นการถาวร สหรัฐอเมริกากำหนดให้ต้องมีเจตนาไม่อพยพทั้งกับวีซ่าท่องเที่ยว วีซ่านักเรียน และวีซ่าแลกเปลี่ยน สำหรับแต่ละประเภท ผู้ที่จะเข้าประเทศอาจโดนปฏิเสธวีซ่าตั้งแต่ที่สถานทูต หรือที่ด่านคนเข้าเมืองที่สหรัฐอเมริกาก็ได้ และเนื่องจากความเสี่ยงที่จะโดนปฏิเสธ จึงแนะนำให้ยื่นขอวีซ่าให้ตรงกับเจตนาในการเข้าเมืองของคุณ

ในทางกลับกัน คงจะไม่ดีหากจะขอวีซ่าถาวรหากว่าคู่สมรสมีไม่มีเจตนาที่จะย้ายถิ่นฐานไปสหรัฐอเมริกา ในกรณีเช่นนี้ เจตนาอาจจะเป็นเรื่องที่พิสูจน์ยาก แต่ก็ยังแนะนำให้มีเจตนาที่แท้จริงในการที่จะพำนักอาศัยอยู่ที่สหรัฐเมริกาจะดีกว่า

แต่แม้จะมีปัญหาสองอย่างที่กล่าวมาข้างต้น ก็ยังคงมีทางสายกลาง ให้คุณเลือก ทางสายกลางที่ว่าก็คือทฤษฎีสองเจตนา ทฤษฎีนี้มาจากความคิดที่ว่ามีหลายๆกรณีที่วีซ่าสหรัฐอนุญาติให้คนต่างด้าวอยู่ในสหรัฐอเมริกาเป็นการชั่วคราวในขณะที่มีเจตนาอพยพ ทฤษฎีนี้มาจากความจำเป็นที่เกิดจากกรณีคนต่างด้าวเข้ามาอยู่อาศัยและทำงานในสหรัฐอเมริกาด้วยวีซ่าชั่วคราวและอยากได้กรีนการ์ด หน่วยงานคนเข้าเมืองของสหรํฐเข้าในดีว่ากรณีเช่นนี้ในบางกรณีสมควรได้รับการยอมรับและส่งเสริม

ตัวอย่างของการมองหาประเภทวีซ่าที่เหมาะกับตนเองอีกอย่างหนึ่งคือ กรณีวีซ่า เค วัน วีซ่าคู่หมั้น ซึ่งเป็นวีซ่าไม่ถาวร แต่คนต่างด้าวเข้าสหรัฐอเมริกาเพื่อไปอยู่กับคู่หมั้น เพื่อแต่งงาน และปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็นผู้ถือกรีนการ์ดตามลำดับ ดังนั้น วีซ่าเค วัน จึงเป็นวีซ่าที่มีสองเจตนา ซึ่งอนุญาตให้อยู่ชั่วคราวได้ 90 วัน แต่ให้โอกาสในการขอกรีนการ์ด

นอกจากนี้ วีซ่า เค ทรี เป็นวีซ่าที่มีสองเจตนาเช่นกัน เนื่องจากโดยพื้นฐานแล้วเป็นวีซ่าไม่ถาวร แต่เมื่อเข้าประเทศสหรัฐอเมริกาได้ ผู้ถือวีซ่าจะต้องปรับเปลี่ยนสถานภาพ เนื่องจากวีซ่าเค ทรี ไม่ใช่กรีนการ์ด การใช้วีซ่าเค ทรี เข้าออกสหรัฐได้ถูกยกเลิกไปเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาเนื่องจาก ระยะเวลาขอวีซ่าถาวรลดลง ในขณะที่ระยะเวล่าขอวีซ่า เค ทรี เพิ่มขึ้นเล็กน้อย

วีซ่า แอล วัน และ เอช วัน บี สำหรับผู้ทำงาน เป็นอีกตัวอย่างของวีซ่าชั่วคราวที่ให้มีสองเจตนาได้ แม้ว่าวีซ่าประเภทเหล่านี้เป็นไปโดยพื้นฐานการจ้างงาน

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู  วีซ่าอเมริกา

more Comments: 04

21st April 2010

For information in English please see: National Visa Center.

NVC คืออะไร?

กระบวนการขอรับผลประโยชน์จากการเข้าเมืองของสหรัฐอเมริกาอาจจะยุ่งยากเป็นบางครั้ง แต่โดยภาพรวมแล้วหากว่าเข้าใจขั้นตอนหรือมีการจ้างทนายความผู้มีประสบการณ์ก็อาจจะทำให้ง่ายขึ้น

คำถามที่พบบ่อยๆเกี่ยวกับกระบวนการขอวีซ่าก็คือ NVC คืออะไรและมีหน้าที่อะไร NVC ย่อมาจากศูนย์วีซ่าแห่งชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐภายใต้อำนาจของกระทรวงต่างประเทศสหรัฐอเมริกา NVC มีสำนักงานอยู่ที่ Portsmouth มลรัฐ New Hampshire อำนาจของ NVC คือการดำเนินการคำขอวีซ่าและทำให้แน่ใจว่าคำขอวีซ่าจะถูกส่งต่อไปยังหน่วยงานที่อยู่ในพื้นที่ผู้รับผลประโยชน์มีภูมิลำเนาอยู่

NVC ยังรับผิดชอบในการรวบรวมค่าธรรมเนียมวีซ่าถาวร และเอกสารสำคัญที่จำเป็นต้อเจ้าหน้าที่กงสุลในการพิจารณาคำขอ

กระบวรการดำเนินการของ NVC วีซ่าไม่ถาวรและวีซ่าถาวร

การดำเนินการของ NVC นั้นยุ่งยากและใช้เวลาค่อนข้างมากกว่าสำหรับวีซ่าถาวร ซึ่งตรงข้ามกับวีซ่าไม่ถาวร กิจกรรมหนึ่งที่ NVC ทำบ่อยๆก็คือการตรวจสอบด้านความมั่นคงและตรวจสอบภูมิหลังของผู้ที่มีความประสงค์จะเข้าประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากเหตุการณ์ 11 กันยายน 2544 NVC ได้มีบทบาทสำคัญเพื่อทำให้มั่นใจว่าบุคคลเหล่านั้นจะไม่เป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศสหรัฐอเมริกา

NVC นั้นบางครั้งถูกเข้าใจสับสนกับ NBC หรือ ศูนย์ผลประโยชน์แห่งชาติซึ่งได้รับมอบหมายจาก USCIS ให้จัดการเกี่ยวกับเอกสารก่อนสัมภาษณ์สำหรับการสัมภาษณ์คนเข้าเมืองในประเทศสหรัฐอเมริกา

สำหรับคนที่ต้องการนำคู่หมั้นชาวไทยไปอเมริกาโดยวีซ่า K1 ขั้นตอน NVC มักจะเร็วกว่าผู้ขอวีซ่าอพยพ ซึ่งก็เป็นจริงสำหรับกรณีวีซ่า K3 จากประเทศไทยที่ยื่นคำขอเพิ่มเติม I129F ในกรณีใดๆก็ตาม เมื่อวีซ่าได้รับการอนุมัติจาก USCIS มันจะถูกส่งต่อไปยัง NVC และ เมื่อได้รับอนุมัติคำขอจะถูกส่งไปยังสถานทูตสหรัฐอเมริกาหรือสถานกงสุลใหญ่

ขึ้นอยู่กับจำนวนเรื่องที่ NVC กระบวนการอาจจะใช้เวลาจาก 2 ถึง 8 สัปดาห์ ในการดำเนินการและส่งต่อเรื่องไปยังสถานทูตในต่างประเทศ อย่างไรก็ตามนี่ก็เป็นแค่ระยะเวลาโดยเฉลี่ยเท่านั้น ระยะเวลาในการดำเนินการสำหรับหน่วยงานของสหรัฐก็มักจะต่างกันไป

เมื่อยื่นคำขอที่ USCIS ในกรุงเทพมหานคร NVC จะไม่เข้ามามีส่วนในขั้นตอนใดๆเนื่องจากคำขอจะถูกส่งตรงไปยังสถานทูตอเมริกาประจำกรุงเทพมหานครซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามทันที

more Comments: 04

20th April 2010

In previous posts this author has discussed the I-130 petition for an immediate relative for a visa to the United States of America. For those present in countries that do not have an office of the United States Citizenship and Immigration Service (USCIS) it may be possible to file such a petition directly with the Consulate by utilizing a method known as Direct Consular Filing. However, in a country where an overseas office of USCIS is located it is incumbent upon to petitioner to file at the local USCIS office, provided he or she meets the residence requirements for the office to take jurisdiction. That being said, many are under the mistaken impression that only the petitioner and beneficiary, together, can submit an application. This is not necessarily the case.

8 CFR 292.1 states:

(a) A person entitled to representation [before USCIS] may be represented by any of the following:

(1) Attorneys in the United States. Any attorney as defined in §1.1(f) of this chapter.

Section 1.1(f), referenced above states:

“The term attorney means any person who is a member in good standing of the bar of the highest court of any State, possession, territory, Commonwealth, or the District of Columbia, and is not under any order of any court suspending, enjoining, restraining, disbarring, or otherwise restricting him in the practice of law.”

In practical terms, this means that a licensed attorney in the United States is entitled to represent clients before the United States Citizenship and Immigration Service. There is no geographical restriction placed upon this right. Therefore, those wishing to file an I-130 to travel to the United States are entitled, as a matter of law, to attorney representation.

This can provide a real boon to those who do not wish to deal with the petition submission process. Since an attorney in entitled to act on behalf of clients in matters involving petitions for the IR1 visa and the CR1 visa in Thailand, the Petitioner and Beneficiary need simply provide required documents to their attorney and the attorney can file the petition on their behalf. In some limited cases, USCIS officers require that a Petitioner or Beneficiary appear in person regarding a pending case. Should this situation arise, the Petitioner or Beneficiary is entitled to have their attorney present for such a meeting with USCIS officers.

Unfortunately, in Thailand there are many agencies and “fly by night” operations claiming to have the right and expertise to assist in visa matters. However, many of these so-called “lawyers” are not licensed to practice law in the United States, nor in any other jurisdiction. Therefore, they cannot present an I-130 submission on behalf of another. In a way, an I-130 local filing is a “litmus test” of whether or not an individual is really an American attorney. If a so-called “attorney” requires the Petitioner and/or Beneficiary to file the I-130 personally and the so-called “attorney” is unwilling to appear personally, then this may be a sign that they are an unlicensed operator and should be avoided.

For further information please see US Visa Thailand. For further information regarding USCIS local jurisdiction please see: USCIS Bangkok.

more Comments: 04

19th April 2010

สำหรับผู้ที่กำลังหาข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารวีซ่าอเมริกาที่เรียกว่า Notice of Action 2 ซึ่งถูกกล่าวถึงบ่อยในกรณีที่เกี่ยวกับคำขอวีซ่าคู่สมรสและวีซ่าคู่หมั้น กะทู้นี้จะอธิบายว่า Notice of Action 2 คืออะไร และมีความหมายอย่างไรกับคำขอวีซ่าที่อยู่ระหว่างพิจารณา

เมื่อยื่นคำขอวีซ่า เอกสารตอบรับฉบับแรกที่ได้รับจาก USCIS คือใบรับเรียกว่า Notice of Action 1 ( NOA 1 ) เพื่อเป็นการแจ้งแก่ผู้ยื่นขอวีซ่าว่า USCIS ได้รับคำขอวีซ่าแล้ว มีบางกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้พิจารณาเรื่องเห็นว่าต้องมีการยื่นหลักฐานเพิ่มเติมก่อนที่เรื่องจะได้รับการพิจารณา ในกรณีเช่นว่านี้ คำขอหลักฐาน ( รู้จักกันในชื่อ RFE ) จะถูกส่งไปยังผู้ยื่นขอวีซ่า อย่างไรก็ตาม ในกรณีส่วนใหญ่ หลักฐานเพิ่มเติมก็ไม่มีความจำเป็นและหากว่าคำขอวีซ่าได้รับการอนุมัติแล้ว Notice of Action 2 ก็จะถูกส่งไปยังผู้ยื่นขอวีซ่า ถ้าคำขอวีซ่าถูกปฏิเสธ ก็จะมีการส่งหนังสือแจ้งไปยังผู้ยื่นเช่นกัน

แม้ว่าจะไม่ค่อยเกิดขึ้นซักเท่าไหร่สำหรับคำขอวีซ่าครอบครัว การปฏิเสธของ USCIS ก็สามารถเกิดขึ้นได้ การปฏิเสธมักเป็นผลมาจากการที่คำร้องนั้นไม่แสดงให้เห็นความสัมพันธ์อันแท้จริงระหว่างผู้ยื่นและผู้รับผลประโยชน์ในขณะที่ยื่น หรือในอีกกรณีคือการที่ยิ่นขอวีซ่าผิดประเภท การสมรสตามประเพณีไทยก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เข้าใจทางเลือกในการขอวีซ่าอพยพเมริกาได้อย่างผิดๆ ในประเทศไทย หากว่าการสมรสนั้นมิได้เป็นการจดทะเบียน ณ สำนักทะเบียนอำเภอ ก็ถือว่ามิได้เป็นการสมรสโดยถูกต้องตามกฎหมายในสายตาของ หน่วยงานคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาและไม่ถือว่าเป็นเหตุที่ทำให้สามารถขอวีซ่าอพยพเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาได้

ดังนั้น หากว่าคู่รักที่ได้สมรสกันอย่างไม่เป็นทางการยื่นขอวีซ่า IR 1, CR 1 หรือ K3 คำขอก็จะถูกปฏิเสธเพราะว่ามีคุณสมบัติไม่เพียงพอในการออกวีซ่าให้ อย่างไรก็ตามสำหรับคู่รักในกรณีเหล่านี้ คุณสามารถขอวีซ่า K1 ได้

หลังจากที่ USCIS ออก Notice of Action 2 ให้ คำขอจะถูกส่งต่อไปยัง National Visa Center ในกรณีที่เกี่ยวกับวีซ่าอพยพถาวร NVC จะดึงเรื่องไว้นานพอสมควร อย่างไรก็ตาม หากเป็นกรณี ของวีซ่า K1 NVC จะไม่ดึงเรื่องเอาไว้นานสักเท่าไหร่ แต่จะดำเนินการตรวจสอบทางความมั่นคงและส่งต่อเรื่องไปยังสถานทูตสหรัฐอเมริกา ในกรณีคู่หมั้นชาวไทย จะมีการส่งเรื่องไปยังสถานทูตสหรับอเมริกาประจำกรุงเทพมหานคร กงสุลใหญ่ ประจำเชียงใหม่ จะไม่ดำเนินการวีซ่าอพยพถาวร

more Comments: 04

18th April 2010

Traveling to the United States of America, for any purpose, can be a costly and arduous endeavor. Recently the American Immigration Lawyers Association distributed a a memorandum that was promulgated by the United States Customs and Border Protection (USCBP) Service. In this memorandum the Foreign Affairs Manual was referenced. The following is a direct quotation from that memorandum:

“The Department of State (DOS) recently revised 9 FAM 41.104 Exhibit I, entitled, “Countries that Extend Passport Validity for an Additional Six Months after Expiration.” The Inspector’s Field Manual (IFM) Appendix 15.2 will be amended to reflect the new DOS 6-month list.”

The Inspectors Field Manual is important because it notes the countries that will extend passport validity by six months past the date of passport expiration. The memorandum goes further and discusses specific countries that will no longer be recognized as allowing this type of extension past the underlying passport’s validity:

“Among the countries that have been removed from the 6-month list since the last revision of the IFM are the following: Bangladesh, Cuba, Ecuador, Holy See, Italy, Jordan, Kazakhstan, Kuwait, Laos, Oman, Russia, Senegal, Sudan, Syria, and Togo.

We have posted this information in order to better inform those travelers from the aforementioned countries who are accustomed to traveling to the USA on a passport with little, or no, official validity left. It would be unfortunate for an individual from one of the countries listed above to travel to the USA only to find that they are inadmissible due to the fact that they no longer have a travel document that is recognized as valid by United States Customs and Border Protection.

Thai Authorities generally require that those applying for a Thai visa have at least 6 months of stated validity on their passport. This is due to the fact that Thai officials do not like to issue visas with a validity that stretches substantially past the the date of the underlying passport’s validity period. In some cases, a Thai tourist visa can be obtained when there is little validity left on the passport, but these cases are rare. In cases involving the multiple entry one year Thai business visa or the one year Thai O visa, it has become practically a hard and fast rule that the validity of the passport be more than 6 months before a visa will be issued.

For further information about passports and travel to the USA please see: US Visa Thailand. For further insight into Thai Immigration matters please see: Thailand visa.

more Comments: 04

16th April 2010

For related information in English please see: Request for Evidence.

ในกระทู้คราวก่อน เราได้พูดถึงคำขอวีซ่าเบื้องต้นสำหรับคนรักต่างชาติของบุคคลสัญชาติอเมริกัน ในกระทู้นี้เราจะพูดถึงสิ่งที่ต้องทำในกรณีที่คุณได้รับแบบขอหลักฐานเพิ่มเติมจาก USCIS หลังจากที่ USCIS ได้รับคำขอของบุคคลสัญชาติอเมริกัน ก็จะส่งหนังสือแจ้งที่เรียกว่า Notice of Action 1 หรือ NOA 1 ให้ สำหรับคำขอวีซ่าที่ประสบความสำเร็จก็จะมีการส่ง Notice of Action 1 ตามด้วย Notice of Action 2 หรือหนังสือแจ้งการอนุมัติ อย่างไรก็ตาม ยังคงมีกรณีที่ USCIS เรียกเอกสารเพิ่มเติม ในกรณีที่เรียกหลักฐานเพิ่มเติม (RFE ) ส่วนใหญ่มักเกิดมาจากการที่เอกสารที่ยื่นไปนั้นใช้ไม่ได้ ซึ่งเป็นเหตุผลที่ว่าทำไมต้องยื่นเอกสารที่มีความชัดเจนในการยื่นคำขอวีซ่าต่อ USCIS

เพื่อแก้ปัญหาการได้รับแบบเรียกหลักฐานเพิ่ม คู่รักหลายๆคู่เลือกใช้บริการทนายความด้านกฎหมายคนเข้าเมืองเพื่อช่วยยื่นคำขอวีซ่าให้ ทนายความที่มีประสบการณ์สามารถทำนายได้ว่าเจ้าหน้าที่คาดหวังจะดูเอกสารอะไรในการที่จะพิจารณาคำขอให้ อย่างไรก็ตามการจ้างทนายไม่ได้การันตีว่าคุณจะไม่ได้รับแบบเรียกขอหลักฐานเพิ่ม แต่ถ้าคุณได้รับแบบดังกล่าว ทนายความก็สามารถดำเนินการแทนคุณได้อย่างมีประสิทธิภาพ

แบบเรียกขอหลักฐานเพิ่มจะบอกว่าเอกสารอะไรที่ขาดไปหรือใช้ไม่ได้ หลังจากที่ได้ระบุตัวเอกสารแล้ว เจ้าหน้าที่จะพิจารณาว่าคุณจะแก้ปัญหานั้นได้อย่างไรและจะมีกำหนดยื่นเอกสารภายในระยะเวลาเท่าไรโดยการส่งคำขอเอกสารเพิ่มเติมให้แก่คุณ

อนึ่ง RFE ก็คล้ายๆกับแบบปฏิเสธวีซ่า 221 (g) จากสถานทูตสหรัฐ สาเหตุที่มันเหมือนกันก็เพราะว่าผู้ขอวีซ่าต้องยื่นเอกสารที่ถูกร้องขอก่อนที่จะมีการอนุมัติให้ดำเนินการใดๆต่อไปได้ ความต่างก็คือ เจ้าหน้าที่ที่ออกแบบคำขอ ในขณะที่ แบบ 221g นั้นออกโดยเจ้าหน้าที่สถานทูตแต่ แบบขอหลักฐานเพิ่มเติมออกโดยเจ้าหน้าที่กระทรวงความมั่นคง ในกรณีทั้งสองเอกสารที่ถูกร้องขอเพิ่มเป็นไปเพื่อประกอบการพิจารณาเพื่อให้มั่นใจว่าผู้รับผลประโยชน์ในคำขอวีซ่าสมควรได้รับสิทธิประโยชน์จริง

ในกรณีคำขอวีซ่า K1 เจ้าหน้าที่มักเรียกหลักฐานที่แสดงความสัมพันธ์ที่แท้จริงหรือสถานภาพของฝ่ายใดฝ่ายหนึ่ง ในกรณีคำขอวีซ่า K3 หรือ CR1 เจ้าหน้าที่มักขอหลักฐานยืนยันสถานภาพสมรสของคู่รักหรือสถานภาพของบุคคลก่อนการสมรสจะมีขึ้น

more Comments: 04

14th April 2010

ในกระทู้นี้เราจะกล่าวถึง Notice of Action 1 หรือ NOA 1 เพื่อแสดงคำนิยามทางกฎหมายคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาที่แม่นยำให้แก่ผู้ที่กำลังจะขอวีซ่าอเมริกาจากประเทศไทย

ในกรณีเกี่ยวกับคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาหลายๆเรื่อง โดยเฉพาะเรื่องเกี่ยวกับการเข้าเมืองด้วยจุดประสงค์ทางครอบครัว คำขอจะต้องได้รับการอนุมัติจาก USCIS เสียก่อน หน่วยงานนี้เป็นหนึ่งในหน่วยงานที่ขึ้นตรงกับกระทรวงความมั่นคงสหรัฐอเมริกา (DHS)

เมื่อคู่รักเลือกที่จะยื่นขอวีซ่าสหรัฐอเมริกา ก็มักจะเป็นวีซ่า CR 1 , IR 1, K3 หรือ K 1 วีซ่า CR 1, IR 1 และ K 3 เป็นวีซ่าประเภทคู่สมรสอเมริกาทั้งหมด ในขณะที่วีซ่า K 1 เป็นวีซ่าคู่หมั้น วีซ่าประเภทเหล่านี้จะต้องได้รับการอนุมัติจาก USCIS ก่อนที่จะมีการกำหนดสัมภาษณ์ ในทางกลับกันวีซ่า B1, B2, F1 และ J1 เป็นวีซ่าไม่อพยพ ( ซึ่งไม่อนุญาตให้มีเจตนาในการเข้าเมืองเพื่อวัตถุประสงค์อื่นอีก ) และไม่จำต้องได้รับการอนุมัติจาก USCIS เสียก่อน ข้อควรสังเกตคือวีซ่าไม่อพยพประเภทเหล่านี้เป็นการยากที่จะขอสำหรับคนรักของบุคคลสัญชาติอเมริกันตามมาตรา 214b แห่งพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองและสัญชาติ มาตรานี้ได้วางหลักถึงข้อสันนิษฐานที่จะต้องทำให้ปราศจากความสงสัยให้ได้ก่อนที่จะออกวีซ่าให้

เมื่อบุคคลสัญชาติอเมริกันยื่นคำขอวีซ่า K1, K3, CR1 หรือ IR1 จะต้องยื่นคำขอไปยัง USCIS เสียก่อน มีศูนย์บริการ USCIS อยู่สองแห่งโดยขึ้นอยู่กับภูมิลำเนาของผู้ยื่นขอชาวอเมริกัน ผู้ยื่นคำขอจะต้องยื่นคำขอต่อ USCIS และจะมีการออกใบรับให้เรียกว่า Notice of Action 1 (NOA1 ) ใบรับนี้จะแสดงชื่อผู้ยื่นคำขอและผู้รับผลประโยชน์ รวมถึงวันที่รับเรื่องและวันที่ออกใบรับ ใบรับนี้จะแสดงหมายเลขเรื่องด้วย

สำหรับผู้ที่ใช้บริการทนายความทำวีซ่าอเมริกา สำเนา Notice of Action 1 จะถูกส่งไปยังทนายความในกรณีที่ทนายความได้ยื่นแบบ G28 เข้าไปด้วยกับคำขอวีซ่า ก่อนทีจะใช้บริการกับทนายคนใด คุณควรตรวจสอบให้แน่ใจว่าจะมีการยื่นแบบ G28 ด้วยเนื่องจากมันค่อนข้างมีความสัมพันธ์ต่อการดำเนินการตามคำขอวีซ่า และบริษัทวีซ่าไม่สามารถกระทำการแทนลูกค้าต่อ USCIS ได้ดังนั้นน่าจะเป็นการดีที่จะตรวจสอบคุณสมบัติของบุคคลที่คุณต้องการให้เป็นตัวแทนให้ และโชคไม่ดีที่ในประเทศไทยมีผู้ให้บริการที่ไม่ได้รับอนุญาติอยู่มากมายที่ปฏิบัติงานเช่นทนายความมีใบอนุญาติของสหรัฐอเมริกา

Notice of Action 1 นั้นเป็นคนละตัวกับจดหมายจากสถานทูตอเมริกาประจำประเทศไทย จดหมายนี้เรียกว่า Packet 3 และจะถูกส่งในช่วงท้ายๆของกระบวนการคนเข้าเมืองแล้วเท่านั้น

more Comments: 04

11th April 2010

The following was posted on the website of the US Embassy in Thailand:

U.S. DEPARTMENT OF STATE
Office of the Spokesman
For Immediate Release
April 10, 2010
2010/418

Statement by P.J. Crowley, Assistant Secretary, Bureau of Public Affairs

“The United States deeply regrets the violence on the streets of Bangkok April 10, and the loss of life.  Violence is not an acceptable means of resolving political differences. We call on the United Front for Democracy Against Dictatorship (UDD) and the Thai security forces to show restraint going forward.  The United States firmly believes both sides can and should work out disagreements peacefully through earnest negotiation.  We once again stress the importance of all players in Thailand working to resolve differences in a way that strengthens democracy and rule of law.  We strongly support the Thai nation and its people during this difficult period.” [Bold and Italics added]

more Comments: 04

10th April 2010

Visa denial is generally something that most bi-national couples do not wish to discuss, but it is something that should be researched by the prospective visa petitioner as legal grounds of inadmissibility and the I-601 waiver process could be relevant to an individual couple’s Immigration petition and visa application.

In a recent report from the Congressional Research service (distributed by AILA) the issue of visa denial was discussed as the report looked at the reasons for denial and the overall trends in inadmissibility findings:

“Most LPR [Lawful Permanent Residence] petitioners who were excluded on §212(a) grounds from FY1994 through FY2004 were rejected because the Department of State (DOS) determined that the aliens were inadmissible as likely public charges. By FY2004, the proportion of public charge exclusions had fallen but remained the top basis for denial. The lack of proper labor certification was another leading ground for exclusion from FY1994 through FY2004. By FY2008, however, illegal presence and previous orders of removal from the United States was the leading ground.”

The finding of a “public charge” grounds of inadmissibility is related to the affidavit of support. A finding that an alien is likely to be a “public charge” stems from a finding that the sponsor does not have the requisite income and assets necessary to support the alien for whom benefits are being sought. The report goes further to note that Comprehensive Immigration Reform may tackle some of the issues associated with the trends in visa application denials:

“Legislation aimed at comprehensive immigration reform may take a fresh look at the grounds for excluding foreign nationals enacted over the past two decades. Expanding the grounds for inadmissibility, conversely, might be part of the legislative agenda among those who support more restrictive immigration reform policies.”

It is interesting to note that the Immigration system may become more stringent or more lax depending upon the mood of legislators with regard to the issue of immigration. That being said, a more detailed look at the current trends provides insight into the dynamics of the system as a whole:

“[M]ost LPR petitioners who were excluded on §212(a) grounds in FY1996 and FY2000 were rejected because the DOS determined that the aliens were inadmissible as likely public charges. In FY2004, the proportion of public charge exclusions had fallen, but remained the top basis for denial. The lack of proper labor certification was another leading ground for exclusion in FY1996, FY2000, FY2004, and FY2008. By FY2008, however, illegal presence and previous orders of removal from the United States had become the leading ground.”

It is interesting to note that unlawful presence and previous removal had become the leading grounds of inadmissibility cited by the year 2008. This would seem to support the anecdotal evidence and personal experience of this author as more and more prospective entrants to the US seem to be placed in expedited removal proceedings with greater frequency. Also, there seems to be an increasing trend of increasingly zealous enforcement of Immigration law in the USA as illegal aliens are placed in removal proceedings more frequently.

For further information about visa denial please see: K1 visa. For general information about US Immigration from Thailand please see: US Visa Thailand.

more Comments: 04

9th April 2010

To see related information in English please see: 221g.

ยังคงมีข้อสงสัยเกี่ยวกับการที่วีซ่าถูกปฏิเสธภายใต้มาตรา 221 (G ) สำหรับคำร้องขอวีซ่าจากประเทศไทย การปฏิเสธวีซ่าตามมาตรา 221 (G ) ก็คือการปฏิเสธเพื่อขอหลักฐานเพิ่มเติม เมื่อเจ้าหน้าที่กงสุลตัดสินใจว่าจะออกวีซ่าสหรัฐอเมริกาให้หรือไม่ ( ในการนี้ให้ดูเรื่อง วีซ่าคู่หมั้น K1, K3 หรือ วีซ่าคู่สมรส CR1 ) เจ้าหน้าที่จะทำการสืบเสาะข้อเท็จจริงเพื่อให้มั่นใจว่าผู้ขอวีซ่าเป็นบุคคลตามที่กล่าวอ้างจริง และจะเดินทางไปสหรัฐอเมริกาด้วยเหตุผลที่มีมูล ( ในกรณีเช่นนี้หมายความว่าต้องเป็นการเดินทางไปเพื่อวัตถุประสงค์ความสัมพันธ์ทางครอบครัวกับผู้ร้องสัณชาติอเมริกัน )

คู่รักบางคู่มีความกังวลใจเมื่อได้รับ แบบ 221 (G) และก็อาจจะเป็นเรื่องที่ไม่ค่อยสะดวกเท่าไหร่โดยเฉพาะกรณีที่ผู้ขอวีซ่ามาจากต่างจังหวัด ซึ่งก็เป็นปัญหาได้ หากว่าผู้ขอวีซ่ามีสำมะโนครัว (ทะเบียนบ้าน ) อยู่ต่างจังหวัดและเป็นการยากต่อการเดินทางกลับไป บ่อยครั้งที่เอกสารที่ถูกเรียกจะต้องออกโดยอำเภอที่ผู้ขอวีซ่ามีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน แม้ว่าจะเป็นเรื่องปกติสำหรับสถานทูตที่จะออก คำร้องขอเอกสารเพิ่มเติมในลักษณะนี้ แต่ก็สามารถเป็นเรื่องลำบากสำหรับผู้ขอวีซ่าชาวไทยที่จะไปนำเอกสารที่จำเป็นนั้นมาให้ได้

การปฏิเสธวีซ่าภายใต้มาตรา 221 (g) นี้โดยทั่วไปแล้วจะให้เวลาผู้ขอวีซ่า 1 ปีในการหาเอกสารที่ได้รับการร้องขอก่อนที่สถานทูตจะทำการทำลายไฟล์ของคุณ หากไม่ปฏิบัติตามคำร้องขอนี้ ก็อาจจะทำให้คำร้องขอวีซ่าของคุณถูกยกเลิกและต้องเริ่มกระบวนการใหม่อีกครั้งหนึ่ง

เพื่อหลีกเลี่ยงการปฏิเสธวีซ่าภายใต้มาตรา 221 ( G) อาจจะเป็นการดีที่จะขอความช่วยเหลือจากทนายความด้านกฎหมายคนเข้าเมือง เพื่อป้องกันการปฏิเสธวีซ่าภายใต้มาตรา 221 ( G) แต่อย่างไรก็ตาม แม้ว่าจะได้มีการจ้างทนายความแล้ว คุณก็ยังคงสามารถถูกปฏิเสธวีซ่าภายใต้มาตรา 221 ( G) ได้ หากว่ามีเอกสารอื่นที่จำเป็นต้องแสดง เจ้าหน้าที่กงสุลมีอำนาจดุลพินิจอย่างกว้างขวางตามอำนาจเด็ดขาดของกงสุล ดังนั้น คำร้องขอเอกสารเพิ่มเติมโดยเจ้าหน้ากงสุลเป็นเรื่องที่คุณต้องให้การตอบรับคำร้องขอนั้นภายในเวลาที่กำหนดให้

more Comments: 04

The hiring of a lawyer is an important decision that should not be based solely on advertisement. Before you decide, ask us to send you free written information about our qualifications and experience. The information presented on this site should not be construed to be formal legal advice nor the formation of a lawyer/client relationship.