blog-hdr.gif

Integrity Legal

Posts Tagged ‘214(b)’

4th November 2010

การบริการคนเข้าเมืองและพลเมืองอเมริกัน (USCIS) รับผิดชอบในการวินิจฉัยและขั้นตอนการทำคำขอเพื่อสิทธิประโยชน์คนเข้าเมืองอเมริกัน เรื่องหลักๆส่วนมากแล้ว ผู้ยื่นคำขอประสงค์ที่จะยื่นคำขอในสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตามในบางกรณี อาจมีความเป็นไปได้ที่การยื่นขอสิทธิประโยชน์ของวีซ่าคู่แต่งงานอาจยื่นที่สำนักงานUSCISที่อยู่ต่างประเทศ หรือยื่นโดยตรงที่กงสุลอเมริกา สถานทูตที่อยู่ต่างประเทศ

ภาคส่วนการปฏิบัติการ USCIS ระหว่างประเทศ สำนักงานนโยบายเละโครงสร้าง สำนักงานความผูกพันสาธารณะเชิญคุณเข้าร่วมในการประชุมทางไกลเพื่อที่จะอภิปรายถึงการเปลี่ยนแปลงในการวินิจฉัยฟอร์ม I-130 คำร้องของญาติคนต่างชาติซึ่งยื่นโดยผู้ยื่นคำขอที่พักอาศัยอยู่ต่างประเทศ ในเวลานี้ ผู้ยื่นคำขอที่อาศัยอยู่นอกสหรัฐอเมริกาอาจจะยื่นฟอร์ม I-130 และคำขอนั้นจะวินิจฉัยโดยสำนักงาน USCIS หรือกงสุลอเมริกันที่อยู่ในต่างประเทศ USCIS กำลังทบทวนทางเลือกที่จะมีการวินิจฉัยฟอร์มI-130อย่างเป็นการภายใน ในระหว่างช่วงนี้ USCISจะจัดการภาพรวมที่อาจจะกระทบต่อการยื่นแบบฟอร์มและคำวินิจฉัยในขณะเดียวกับการตอบคำถามและคลายความกังวลจากผู้ถือผลประโยชน์

ไม่ว่านโยบายที่เสนอไปนั้นจะเกิดผลหรือไม่ แต่ถ้านโยบายนี้มีผลบังคับใช้แล้ว การทำวีซ่าถาวรจะมีความเป็นไปได้ที่จะยื่นขอรับผลประโยชน์วีซ่าในสหรัฐอเมริกา

ขั้นตอนการเข้าเมืองสหรัฐอเมริกานั้นขึ้นอยู่กัข้อเท็จจริงที่หลากหลายและประเภทของวีซ่า ดังนั้นผู้ที่มองหาวีซ่าประเภท CR1 หรือ IR1จะไม่ต้องประสบกับขั้นตอนเดียวกับผู้ที่กำลังทำวีซ่าประเภท K1 ผู้ที่กำลังจะมองหาสิทธิประโยชน์ของวีซ่าประเภทไม่ถาวรในขณะเดียวกันผู้ยื่นคำขอก็ไม่ประสงค์ที่จะเริ่มยื่นคำขอเกี่ยวกวับการเข้าเมืองในสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตาม ผู้ยื่นคำขอสำหรับวีซ่าประเภทไม่ถาวรจะต้องได้รับการตรวจสอบตามบทบัญญัติมาตรา 214บี พระราชบัญญํติสัญชาติและคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาซึ่งมีแนวโน้มที่อาจจะได้รับการปฏิเสธวีซ่าเมื่อเปรียบเทียบวีซ่าประเภทอื่น

หลายๆคนอาจจะสนใจที่จะใช้บริการจากผู้เชี่ยวชาญในกระบวนการเข้าเมืองในขณะเดียวกับการหาคำแนะนำที่น่าเชื่อถือจากผู้ที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับกฎหมายคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกา ทนายความอเมริกันเท่านั้นที่จะมีสิทธิที่จะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากการให้คำแนะนำและคำปรึกษาในเรื่องการเข้าเมือง

To read this post in English please refer to the previous posting on this blog.

more Comments: 04

3rd November 2010

The United States Citizenship and Immigration Service (USCIS) is responsible for adjudicating and processing petitions for American Immigration benefits. In the majority of cases, the petitioner is required to file a petition in the USA. However, in some relatively rare cases, it may be possible to file for immigrant spouse visa benefits at either an overseas office of USCIS or through Direct Consular Filing at a United States Mission, Embassy, or Consulate abroad. This blogger recently discovered that the USCIS is inviting stakeholders to a meeting to discuss overseas filings of I-130 petitions.  To quote directly from a recent memo distributed by the Department of Homeland Security’s USCIS:

The USCIS International Operations Division, Office of Policy & Strategy, and Office of Public Engagement invite you to participate in a teleconference to discuss changes to the adjudication of the Form I-130, Petition for Alien Relative, filed by petitioners residing overseas.

Currently, petitioners living outside the United States may file a Form I-130 with and have the petition adjudicated by a USCIS field office or American Consulate overseas. USCIS is reviewing options to have all Forms I-130 adjudicated domestically. During the session, USCIS will provide an overview of how changes may affect filing and adjudication as well as address questions and concerns from stakeholders.

It remains to be seen whether or not this proposed policy will be implemented, but if the policy is implemented, then all of those seeking immigrant visas will probably be required to file for visa benefits at a facility in the USA.

The United States Immigration process can vary depending upon the facts of a given case and the visa category being sought. Therefore, those seeking a CR1 visa or an IR1 visa will not undergo the same process as one who is seeking a K1 visa. This is especially true in cases where individuals are seeking non-immigrant visa benefits as many of these applications do not require the initial filing of an immigration petition in the USA. However, applicants for non-immigrant visa categories are likely to be scrutinized pursuant to the provisions of section 214b of the United States Immigration and Nationality Act which can lead to a higher number of visa denials when compared to immigrant visa categories.

Those interested in retaining the services of a professional to assist in the immigration process are well advised to ascertain the credentials of those claiming expertise in United States Immigration law as only a licensed American attorney is entitled to provide advice and counsel in immigration related matters for a fee.

more Comments: 04

8th October 2010

Although it has been written of often on this blog, the issue of section 214 (b) of the United States Immigration and Nationality Act and its impact upon the United States tourist visa process is one of concern to some abroad as few understand why its application can be somewhat unsympathetic when applied to applicants who have a boyfriend or girlfriend of American nationality or in Lawful Permanent Resident status in the United States of America.

Those seeking a US tourist visa must subject themselves to an interview prior to visa issuance (and visa issuance assumes application approval which is not a foregone conclusion). At the visa interview the Consular Officer will adjudicate the merits of a tourist visa application. Section 214(b) of the United States Immigration and Nationality Act compels Consular Officers to deny a tourist visa application (or any non-immigrant visa application that requires 214b analysis such as a J1 visa, an F1 visa, or a B1 visa to name just a few relevant categories) if the officer finds that the applicant cannot overcome the presumption of immigrant intent contained within the provisions of section 214b. This presumption creates a sort of “strong ties” vs. “weak ties” analysis which is utilized by those adjudicating non-immigrant applications. Therefore, those with strong ties to Malaysia (or another country abroad) and weak ties to the USA will be more likely to be granted a tourist visa compared to those in circumstances which mitigate in favor of the presumption of immigrant intent.

In the past, there were some who attempted to utilize the B2 visa (the categorical classification of the US Visitor Visa) as a means of circumventing the comparatively long processing time for visas such as the K1 visa or the CR1 visa. It should be noted that applying for a non-immigrant visa while maintaining immigrant intent could be construed as visa fraud particularly where the applicant is seeking a Visitor Visa which specifically is meant for those wishing to travel to the USA for a relatively short holiday.

Those wishing to bring a Malaysian loved one to the United States for the purpose of marriage are well advised to seek either a US fiance visa (K1 visa) or a US Marriage Visa (if the couple is already married the duration of the marriage may dictate if the Malaysian spouse is eligible for a CR1 Visa or an IR1 visa). A marriage or intended marriage should never be entered into as a pretext. Therefore, so-called marriages of convenience should not be the basis of a visa petition. Those seeking US family visa benefits are well advised to only seek visa benefits based upon a genuine bona fide relationship.

For related information please see: US Visa Lao Girlfriend of K1 Visa Malaysia.

more Comments: 04

7th October 2010

ประเด็นที่เป็นข้อถกเถียงในวงการกฎหมายคนเข้าเมืองเกี่ยวกับการเลือกปฏิบัติและข้อบังคับของกลุ่มเลสเบี้ยน เกย์ ไบเซ็กชวล และผู้ที่แปลงเพศในบริบทของการเข้าเมืองสหรัฐอเมริกา บทความนี้จะชี้แจงเกี่ยวกับวีซ่าสหรัฐอเมริกาของ LGBTสำหรับผู้ที่เป็นคู่รักของพลเมืองอเมริกันและผู้มีถิ่นฐานถาวรอย่างถูกต้องตามกฎหมาย

คู่ที่มีความแตกต่างทางเพศมักพบปัญหาในการขอวีซ่าสหรัฐอเมริกาประเภทท่องเที่ยวตามมาตรา 214(b) ตามพระราชบัญญัติสัญชาติ และคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกา กฎหมายฉบับนี้ให้เจ้าหน้าที่กงสุลมีอำนาจในการออกวีซ่าแก่ผู้ยื่นคำขอที่มีความตั้งใจจะย้ายไปอยู่สหรัฐอเมริกาเว้นเสียแต่ว่าเขาจะแสดงหลักฐานที่ลบล้างข้อสันนิษฐานนั้น หลักนี้ใช้สำหรับคู่ที่มีความแตกต่างทางเพศของพลเมืองอเมริกันและผู้ที่มีถิ่นฐานถาวรตามกฎหมาย อย่างไรก็ตามมาตรา 214(b) ภายใต้กฎหมายอเมริกันเกี่ยวกับคู่ที่เป็นเพศเดียวกัน รัฐบาลกลางสหรัฐอเมริกาและเจ้าหน้าที่ไม่นำมาตรานี้มาใช้กับคู่เพศเดียวกัน ตั้งแต่มีการบังคับใช้พระราชบัญญัติคุ้มครองการแต่งงาน(DOMA)

การละเลยทางกฎหมายของความสัมพันธ์กับเพศเดียวกันส่งผลให้การขอวีซ่าสหรัฐอเมริกาประเภทท่องเที่ยวนั้นลดลงเมื่อเปรียบเทียบกับคู่ต่างเพศเนื่องจากเจ้าหน้าที่ผู้มีอำนาจสามารถแสดงข้อเท็จจริงได้ว่า คู่เพศเดียวกันไม่สามารถที่จะใช้วีซ่าประเภทท่องเที่ยวเพื่อที่จะปรับเปลี่ยนประเภทของวีซ่าสหรัฐอเมริกาเนื่องจากUSCISไม่สามาถปรับเปลี่ยนประเภทวีซ่าของคู่เพศเดียวกัน แม้ว่าการแต่งงานนั้นจะถูกต้องตามกฎหมายของอเมริกาตามพระราชบัญญัติการคุ้มครองการแต่งงาน ดังนั้นการขอวีซ่าสำหรับคู่เพศเดียวกันนั้นอาจจะได้รับการอนุมัติวีซ่ามากกว่าคู่ต่างเพศ แต่คู่ต่างเพศอาจแต่งงานได้อย่างถูกต้องตามกฎหมายในสหรัฐอเมริกาและดินแดนที่มีเขตอำนาจและสามารถทำคำร้องเพื่อขอรับสิทธิประโยชน์ได้ ผู้ที่จะได้รับสิทธิประโยชน์ของวีซ่าสหรัฐอเมริกาประเภทคู่หมั้นนั้นขึ้นอยู่กับการดำเนินการตามกฎหมายภายใน 90 วันนับแต่วันที่คู่หมั้นชาวต่างชาติเข้าไปในสหรัฐอเมริกา

จนกระทั่งมีการยกเลิกพระราชบัญญํติคุ้มครองการแต่งงานโดยสภาคองเกรส (อาจเกิดขึ้นในช่วงของการปฏิรูปการเข้าเมือง) หรือโดยศาลสหรัฐอเมริกา(อาจจะเกิดขึ้นในกรณีที่หนึ่งในสองคดีอยู่ในอำนาจของศาลอุทธรณ์) คู่เพศเดียวกันอาจจะได้รับสิทธิประโยชน์ที่ใกล้เคียงกันกับคู่ต่างเพศในเรื่องของการดำเนินการขอวีซ่าท่องเที่ยว

more Comments: 04

4th October 2010

บทความนี้ขอนำเสนอมุมมองในการขอวีซ่าสหรัฐอเมริกาประเภทท่องเที่ยวสำหรับแฟนชาวต่างชาติของพลเมืองอเมริกัน

พลเมืองอเมริกันหลายคนต่างละเลยข้อเท็จจริงที่ว่า กงสุลอเมริกันมีอิสระในการพิจารณาคำขอวีซ่าประเภทที่ไม่ใช่ผู้อพยพ ( non-immigrant)ซึ่งมีการยื่นคำขอจากทั่วโลก สิ่งที่ต้องตระหนักถึงคือ ในแต่ละปี ชาวอเมริกันทั้งชายและหญิงเดินทางออกนอกสหรัฐอเมริกาและพบกับคนที่พิเศษ ในสถานการณ์นี้อาจมีคำถามมากมายเช่น ต้องทำอย่างไรที่จะขอวีซ่าสำหรับแฟนชาวต่างชาติเพื่อเดินทางมาที่สหรัฐอเมริกา คำตอบสำหรับคำถามนี้อาจไม่ง่ายเหมือนจุดเริ่มต้น

อ้างถึงมาตรา 214(b) พระราชบัญญัติสัญชาติและการเข้าเมืองสหรัฐอเมริกา เจ้าหน้าที่กงสุลในองค์กรของสหรัฐอเมริกา สถานทูตอเมริกา หรือสถานกงสุลสหรัฐอเมริกาสันนิษฐานว่าผู้ยื่นคำขอวีซ่าประเภทที่ไม่ใช่ผู้อพยพ (non-immigrant )เป็นผู้ที่มีเจตนาที่จะอพยพเข้าเมือง เว้นเสียแต่ว่าพวกเขาจะพิสูจน์ได้ว่าไม่ได้เป็นเช่นนั้น สิ่งเหล่านี้นำไปสู่การวิเคราะห์ข้อเท็จจริงโดยเจ้าหน้าที่กงสุลเจ้าหน้าที่กงสุลต้องเชื่อว่า ผู้ยื่นคำขอมีความผูกพันอย่างแน่นแฟ้นต่อประเทศของผู้ยื่นคำขอหรือประเทศอื่นๆนอกจากสหรัฐอเมริกาและต้องมีความผูกพันที่ไม่มากกับสหรัฐอเมริกา ในหลายๆกรณีการที่มีแฟนเป็นคนอเมริกันนั้นส่งผลให้ความผูกพันแน่นแฟ้นกับประเทศบ้านเกิดนั้นน้อยลงและนำไปสู่การปฏิเสธวีซ่าตามาตรา 214(b) เหตุผลนี้เป็นส่วนหนึ่งที่เจ้าหน้าที่สถานทูตไม่ควรที่จะแปลความหมายผิด เจ้าหน้าที่สามารถที่จะปฏิเสธคำขอวีซ่าท่องเที่ยวได้ตามกฎหมายถ้าผู้ยื่นคำขอไม่สามารถพิสูจน์ข้อสันนิษฐานตามมาตรา 214(b)

ด้วยเหตุผลที่สนับสนุน การที่จะพิสูจน์ให้ได้ตามมาตรา 214b แทบจะเป็นไปไม่ได้ในบางเขตอำนาจกงสุล สิ่งที่ทำให้สถานการณ์แย่ลงจากตัวอย่างที่ผ่านมามีการใช้วีซ่าประเภทที่ไม่ใช่ผู้อพยพ(non-immigrant visa)ในทางที่ผิดส่งผลถึงคำขอของการปรับเปปลี่ยนสถานะกับบริการคนเข้าเมืองและพลเมืองอเมริกา (USCIS)ตามสถิตินี้ ข้อสันนิษฐานตามกฎหมายมาตรา 214(b)ทำไห้ไม่มีความหวังในการขอวีซ่าสหรัฐอเมริกานั้นตั้งแต่เริ่มต้น

สิ่งที่ควรตระหนักถึงคือ มีหลายคู่ที่หลังจากทำความรู้จักซึ่งกันและกันและพัฒนาความสัมพันธ์ให้คงอยู่ตลอดไปสามารถที่จะรับสิทธิประโยชน์จากวีซ่าครอบครัวอเมริกัน แตกต่างจากวีซ่าประเภทไม่ใช่ผู้อพยพ (non-immigrant visa) ผู้ยื่นขอวีซ่าประเภทผู้อพยพ (immigrant visa) (หรือผู้สมัครวีซ่าที่มีวัตถุประสงค์สองอย่าง)ไม่ขึ้นอยู่กับการตรวจสอบของกงสุลตามมาตรา 214 (b)ของ INA ดังนั้นการที่จะขอวีซ่าประเภทK1, IR1 และ CR1 ไม่จำเป็นต้องเป็นไปตามมาตรา 214(b) อาจกล่าวได้ว่าการยื่นคำขอวีซ่านั้นต้องอยู่บนพื้นฐานของความสุจริตและวีซ่าครอบครัวต้องมีความสัมพันธ์ที่แท้จริงที่จะได้รับสิทธิประโยชน์จากวีซ่าอเมริกา

more Comments: 04

30th September 2010

A frequently asked question among American expatriates and tourists overseas is: “Can I bring my foreign girlfriend with me to the United States on a Tourist visa?” In the context of Burma (Myanmar) some Americans may pose the question: “Can I bring my Burmese boyfriend or girlfriend to the United States on a Tourist Visa?” In many cases, the answer to either of these questions is a qualified: No. However, an in depth understanding of the statutory scheme underlying the Consular adjudication of visa applications can provide insight into the reasons for denial of these types of visas when sought by the significant others of United States Citizens or Lawful Permanent Residents.

Relatively few people (Americans included) are aware that United States Immigration law imposes a rather stringent statutory presumption that Consular Officers must adhere to when adjudicating non-immigrant visa applications. Under section 214(b) of the United States Immigration and Nationality Act a Consular Officer adjudicating a non-immigrant visa application abroad must refuse to issue the visa if the applicant cannot overcome the presumption that they are intending to immigrate to the United States of America. This creates a sort of “strong ties” vs. “weak ties” analysis whereby the Officer adjudicating the application can only grant the requested visa if the applicant can show sufficient “strong ties” to their home country and “weak ties” to the USA. This presumption is not easily overcome under the best of circumstances, but when an officer takes into account the fact that a non-immigrant visa applicant has an American boyfriend or girlfriend, the presumption could become virtually insurmountable without strong documentation in support of issuance.

Unfortunately, in the past there have been instances of couples attempting to utilize the US tourist visa for the purpose of circumventing the relatively long processing times associated with applying for US family immigration benefits. It should be noted that misrepresenting one’s intentions on a visa application could be construed as visa fraud by American authorities. A finding that fraud has occurred could result in civil and criminal sanctions for both the applicant and the American significant other.

Those couples wishing to obtain a family immigration benefit through use of an American fiance visa (K1 visa) or a spousal visa (K3 Visa in limited cases or a classic CR1 Visa or IR1 Visa in the vast majority of cases) should bear in mind that a visa petition should only be brought if the couple has a bona fide relationship. In short: a couple should not get married or file for a fiance visa if they do not have a bona fide relationship. A pretextual relationship, or so-called “marriage of convenience”, should not be used as a basis for submitting an application for a US visa.

For related information please see: US Visa Indonesian Girlfriend or K1 Visa Burma.

more Comments: 04

16th August 2010

The J1 visa can be an effective travel document for those seeking admission to the United States for cultural and educational exchange. It was recently announced that certain changes will be implemented which may have a significant impact upon J1 visa applicants. The American State Department has made rule changes which may effect J1 visa processing, to quote a recent press release distributed by the American Immigration Lawyers Association (AILA):

On June 19, 2007, the Department published an interim final rule amending its regulations regarding Trainees and Interns to, among other things, eliminate the distinction between “non-specialty occupations” and “specialty occupations,” establish a new internship program, and modify the selection criteria for participation in a training program.

This document confirms the Interim Final Rule as final and amends the requirements to permit the use of telephone interviews to screen potential participants for eligibility, to remove the requirement that sponsors secure a Dun & Bradstreet report profiling companies with whom a participant will be placed and also amends this provision to provide clarification regarding the verification of Worker’s Compensation coverage for participants and use of an Employer Identification Number to ascertain that a third-party host organization providing training is a viable entity, and to clarify that trainees and interns may repeat training and internship programs under certain conditions.

It would appear that the US State Department is making these changes in order to better enjoy the benefits of technological advances. The use of telephone interviews for eligibility screening purposes will likely decrease overall processing time. Furthermore, repealing the Dun & Bradstreet report requirement will likely save individuals as well as companies time and resources when they opt to file for J-1 visa benefits on behalf of a foreign national.

The J-1 visa is often utilized by those who travel to the USA as exchange visitors. Often, those applying for such a travel documents do so at a US Embassy or US Consulate abroad. As the J-1 visa is a non-immigrant visa, the Consular Officer adjudicating the application must ascertain whether the applicant should be granted the visa notwithstanding the provisions of section 214b of the United States Immigration and Nationality Act which requires that those seeking a non-immigrant visa show “strong ties” to their home country and “weak ties” to the United States. Some are under the mistaken impression that a J-1 visa is a “dual intent” travel document akin to the L1 visa. Due to the provisions of section 214b of the INA, the applicant for a J1 visa should not maintain an intention to remain in the USA indefinitely.

For related information please see: US Tourist Visa.

more Comments: 04

11th June 2010

หัวข้อที่ถกเถียงกันบ่อยบนบอร์ดนี้ก็คือ หัวข้อวีซ่าท่องเที่ยว สถานทูตสหรัฐอเมริกาประจำกรุงเทพมหานครจะออกวีซ่าท่องเที่ยวเป็นจำนวนมากในแต่ละแ ในอดีต คำร้องขอวีซ่าชั่วคราวจะต้องมีการยื่นแบบ DS-156 แต่ไม่นานมานี้ กระทรวงต่างประเทศได้ประกาศว่าไม่ให้ใช้ฟอร์ม DS-156 กับการขอวีซ่าท่องเที่ยว บีทู (B2)อีกต่อไป

ฟอร์ม DS-160 แบบใหม่ เป็นฟอร์มคำขอวีซ่าชั่วคราวแบบอิเล็กทรอนิกส์ เป็นฟอร์มออนไลน์ที่ใช้บันทึกข้อมูลที่จำเป็นของผู้ขอวีซ่าชั่วคราว ฟอร์ม DS-160 นี้สามารถยื่นผ่านระบบอินเตอร์เนตไปยังกระทรวงต่างประเทศของสหรัฐโดยตรง เจ้าหน้าที่กงสุลจะอาศัยข้อมูลจากฟอร์ม DS-160 ที่ยื่นเพื่อใช้ประกอบการพิจารณาคำขอวีซ่า ประกอบกับการสัมภาษณ์แบบตัวต่อตัว เพื่อตัดสินว่าผู้ยื่นขอมีคุณสมบัติได้รับวีซ่าชั่วคราวหรือไม่

เห็นได้ชัดว่า ฟอร์ม DS-160 ได้ถูกนำมาใช้เพื่อรวบรัดขั้นตอนการขอวีซ่าของผู้ต้องการขอวีซ่าชั่วคราวเพื่อเข้าประเทศสหรัฐอเมริกา ผู้เขียนได้ตัดตอนข้อความที่ประกาศไว้มาให้อ่านกันดังต่อไปนี้

สถานทูตของสหรัฐอเมริกาและกงสุลทั้งหมดที่ดำเนินการคำขอวีซ่าชั่วคราวให้ใช้แบบฟอร์มออนไลน์ DS-160 แบบใหม่ ดังนั้นผู้ขอวีซ่าจะต้องใช้แบบฟอร์ม DS-160 ออนไลน์นี้กับการขอวีซ่าชั่วคราวเกือบทุกประเภท แต่ไม่ทั้งหมด โปรดดูหมวด ถาม-ตอบของกระทรวงการต่างประเทศ สำหรับข้อยกเว้นและเพื่อให้ทราบว่าวีซ่าชั่วคราวประเภทใดบ้างที่ยังคงใช้แบบฟอร์ม DS-156 ในขณะนี้

มีหลายๆคนที่กังวลว่าการเปลี่ยนแปลงที่เพิ่งเกิดขึ้นนี้จะส่งผลกระทบกับคำขอวีซ่าประเภทอื่นๆ ความกังวลนี้มักจะเกิดขึ้นกับผู้ที่จะขอวีซ่า K1 หรือ K3 สำหรับคู่หมั้นหรือคู่สมรสต่างชาติ นั่นหมายความว่าคุณอาจจะต้องปรึกษากับที่ปรึกษาชาวอเมริกันที่เชี่ยวชาญเสียก่อนว่าคุณควรจะยื่นแบบฟอร์มประเภทอะไรจึงจะเหมาะกับวีซ่าประเภทที่คุณต้องการยื่นขอ และเช่นเคย คุณควรหมายเหตุไว้ว่าทนายความอเมริกันที่มีใบอนุญาตเท่านั้นที่จะสามารถให้ความช่วยเหลือด้านกฎหมายคนเข้าเมืองอเมริกันได้อย่างถูกกฎหมาย หลายๆคนอาจจะเห็นว่าการขอวีซ่าท่องเที่ยวไม่ต้องอาศัยความช่วยเหลือจากทนายอเมริกัน เนื่องจากจะทำให้เสียค่าใช้จ่ายมากขึ้นปล่าวๆ อย่างไรก็ตาม คำขอวีซ่าสำหรับบุคคลในครอบครัวของชาวอเมริกันบางประเภทนั้น การขอความช่วยเหลือจากทนายอาจจะเป็นประโยชน์มากทีเดียว

ยังควรหมายเหตุไว้อีกว่าผู้ขอวีซ่าหลายๆคนถูกปฏิเสธวีซ่าจากเจ้าหน้าที่กงสุลอาศัยเหตุตาม พระราชบัญญัติคนเข้าเมืองและสัญชาติของอเมริกา มาตรา 214(b) ซึ่งหมายความว่าผู้ขอวีซ่าไม่สามารถพิสูจน์ความสัมพันธ์อันแน่นแฟ้นกับประเทศบ้านเกิด และความสัมพันธ์ที่เปราะบางกับสหรัฐอเมริกา ผู้ที่ขอวีซ่าไปสหรัฐอเมริกาควรจำไว้ว่าหากว่าการอพยพเป็นเป้าหมายสุดท้ายของคุณแล้วละก็ การขอวีซ่าท่องเที่ยวอาจจะไม่ใช่วีซ่าประเภทที่เหมาะกับคุณ แม้ว่าวีซ่าจะได้รับการอนุมัติโดยกงสุลสหรัฐอเมริกาในต่างประเทศ แต่บุคคลต่างด้าวมีสิทธิที่จะถูกส่งตัวกลับเมื่อไปถึงด่านตรวจคนเข้าเมืองในสหรัฐอเมริกา หากว่า เจ้าหน้าที่ด่านตรวจคนเข้าเมืองและศุลกากรมีเหตุผลให้เชื่อได้ว่าผู้ขอวีซ่านั้นเป็นผู้ที่แฝงไปด้วยเจตนาอพยพเข้าสหรัฐอเมริกาเป็นการถาวร

more Comments: 04

12th April 2010

For information in English please see: US Visa Thailand.

การถูกปฏิเสธวีซ่าไม่ใช่สิ่งที่คนที่กำลังศึกษาข้อมูลเพื่อขอวีซ่าอยากจะนึกถึง อย่างไรก็ตามการที่วีซ่าถูกปฏิเสธเกิดขึ้นและหากเราทำความเข้าใจเหตุผลของการถูกปฏิเสธ ก็อาจจะทำให้ผู้ที่คิดจะอพยพเข้าเมืองทำการตัดสินใจโดยอ้างอิงข้อมูลว่าจะต้องมีวิธีการในการเข้าเมืองอย่างไร

เมื่อพูดถึงการเข้าเมืองโดยเหตุผลทางครอบครัว การประเมินที่ผิดพลาดก็มักจะเกี่ยวข้องกับการยื่นขอวีซ่าท่องเที่ยว ตัวอย่างเช่น หากว่าบุคคลสัญชาติอเมริกันมีคู่หมั้นชาวไทยและเขาต้องการช่วยขอวีซ่าท่องเที่ยวให้กับเธอ วีซ่าก็มักจะถูกปฏิเสธ เรื่องที่ไม่ได้เกิดจากอคติใดๆของเจ้าหน้าที่กงสุลอเมริกัน แต่ว่ามันมีเหตุมาจากกฎหมายคนเข้าเมืองอเมริกัน

น่าจะดีที่สุดหากจะยกเอาประโยคพื้นๆจากเว็บไซติกระทรวงต่างประเทศสหรัฐมาให้อ่านกัน

มาตรา 214(b) เป็นส่วนหนึ่งของพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองและสัญชาติกล่าวว่า

บุคคลต่างด้าวทุกคนให้สันนิษฐานไว้ก่อนว่าจะเป็นผู้อพยพ จนกว่าผู้นั้นสามารถแสดงให้พอใจแก่เจ้าหน้าที่กงสุล ในเวลาที่ยื่นคำขอเข้าเมือง ว่าบุคคลผู้นั้นสามารถได้รับสถานภาพผู้เข้าเมืองไม่อพยพ

ในอันที่จะมีคุณสมบัติในการออกวีซ่าท่องเที่ยวหรือวีซ่านักเรียนให้ ผู้ขอจะต้องมีคุณสมบัติตรงตามมาตรา 101(a)(15)(B) หรือ (F)แห่งพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองและสัญชาติ การไม่สามารถแสดงคุณสมบัติดังกล่าวได้จะทำให้มีเหตุในการปฏิเสธวีซ่าตามมาตรา 214(b) เหตุผลพื้นฐานของการปฏิเสธตามมาตรานี้เกี่ยวกับคุณสมบัติที่ว่านักท่องเที่ยวหรือนักเรียนนักศึกษาผู้นั้นต้องมีถิ่นที่อยู่ในต่างประเทศซึ่งไม่มีเจตนาละทิ้ง ผู้ขอวีซ่าสามารถพิสูจน์การมีอยู่ของถิ่นที่อยู่นั้นโดยการแสดงความเชื่อมโยงที่บีบบังคับให้ต้องออกจากประเทศสหรัฐเมื่อสิ้นสุดระยะเวลา กฎหมายกำหนดให้เป็นภาระการพิสูจน์ของผู้ยื่นขอวีซ่า

การเอาชนะข้อสันนิษฐานว่าจะอพยพมักจะเป็นอุปสรรคขนาดใหญ่แต่การปฏิเสธวีซ่าภายใต้มาตรานี้เพิ่งจะแพร่หลายหลังจากเหตุการณ์ 11 กันยายน หลังจากเหตุการณ์ 11 กันยายน มีการเปลี่ยนแปลงกระบวนการหลายๆอย่างในการขอวีซ่าไม่อพยพ การเปลี่ยนแปลงที่เห็นได้ชัดคือผู้ขอวีซ่าท่องเที่ยวจะต้องถูกสัมภาษณ์ต่อหน้าเจ้าหน้าที่ การเปลี่ยนแปลงข้อนี้ รวมถึงมาตรการตรวจสอบเพื่อความปลอดภัยที่เพิ่มขึ้นทำให้วีซ่าท่องเที่ยวถูกปฏิเสธมากขึ้น ในหลายๆกรณีการปฏิเสธตามมาตรา 214b เกิดจากการที่ผู้ขอวีซ่าไม่สามารถแสดงให้เห็นว่าจะกลับมายังประเทศแม่ได้ หรืออย่างน้อยที่สุดจะออกจากสหรัฐอเมริกา

เมื่อผู้ขอวีซ่าเป็นคนรักของบุคคลสัญชาติอเมริกัน โดยเฉพาะอย่างยิ่งเมื่อบุคคลสัญชาติอเมริกันนั้นพำนักอยู่ในสหรัฐอเมริกา ก็เป็นไปได้อยากที่จะมีการอนุมัติวีซ่าท่องเที่ยวให้นอกจากว่าผู้ขอจะสามารถแสดง ความเกี่ยวโยงที่แข็งแรง ต่อประเทศแม่ให้ประจักษ์ อย่างไรก็ตามเพื่อไม่ให้เสียเวลาและทรัพยากร น่าจะเป็นการดีกว่าที่คู่รักจะขอวีซ่า K1 หรือ K3 วีซ่า K1 เป็นวีซ่าชั่วคราวที่ให้คุณอยู่ในสหรัฐอเมริกาได้เป็นการชั่วคราว แต่เปิดช่องว่างภายใต้ทฤษฎีเจตนามากกว่าหนึ่ง เพื่อเปิดโอกาสให้ปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็นผู้ถือกรีนการ์ดอเมริกา

more Comments: 04

3rd November 2009

Although this blog primarily focuses upon United States immigration for couples, we sometimes overlook the fact that the Petitioner may be a woman and the Beneficiary may be a man. Many American women in Thailand meet and fall in love with Thai men. Eventually the US Citizen must return to America and the couple begins to research options for the Thai national’s entrance into the USA.

One of the first visa categories that many couples look at is the category B2 visa also known as the tourist visa. Unfortunately, as in situations with an American man and a Thai lady, the US Embassy in Bangkok is reluctant to issue such visas to those with an American girlfriend, fiancee, or spouse because the relationship itself constitutes a “strong tie” to the US which is evidence bolstering the presumption of immigrant intent under 214(b) of the United States Immigration and Nationality Act (INA). Many tourist visas sought for Thai loved ones of US Citizens are denied under the above section of the INA.

Fortunately, the US fiance visa may be a possibility for the Thai-American couple as the US citizen fiancee could sponsor the Thai fiance for a K1 visa. This visa would allow the Thai man to come to the USA for 90 days. After arrival, the couple must marry and apply for adjustment of status so that the Thai man will be a lawful permanent resident in the United States. Should the couple not marry, then the Thai must leave the US before the 90 day period of lawful Immigration status ends. Generally, it takes between 6 and 7 months to process a K1 visa.

US marriage visas are also an option for the Thai-American couple. The usual method for receiving marriage visa benefits is for the Thai man to marry the American lady at a local Amphur office (Civil registrar office) in Thailand. Once the couple is legally married they will be eligible to apply for a CR-1 visa by filing an I-130 Immigration petition. It usually takes between 11 and 12 months for such a petition to be processed.

For those who wish to expedite the marriage visa process a K3 visa could be employed to shorten the processing time. It currently takes 8 months to process the supplemental I-129f petition for a K3. This type of visa requires the filing of two petitions. At this time, the K3 visa is probably not the best method of obtaining Immigration benefits because the K1 has a faster processing time and the CR1 visa does not require adjustment of status after entry.

All in all, the US Immigration process is basically the same regardless of each parties gender. That being said, US federal law (the Defense of Marriage Act) still requires that the petitioner and beneficiary be of the opposite sex.

more Comments: 04

The hiring of a lawyer is an important decision that should not be based solely on advertisement. Before you decide, ask us to send you free written information about our qualifications and experience. The information presented on this site should not be construed to be formal legal advice nor the formation of a lawyer/client relationship.