
Integrity Legal
- Legal Blog
- Integrity Legal Home
- Thai Visa
- Company in Thailand
- Real Estate Thailand
- US Visa
- Contact Us
Archive for November, 2010
10th November 2010
สหรัฐอเมริกามีแผนที่จะให้สัญชาติแก่ผู้ลงทุนหรือไม่
Posted by : admin
เนื่องจากหัวข้อเรื่องวีซ่าการลงทุนอเมริกันได้เผยแพร่ในบล็อกนี้ ผู้เขียนจึงได้รับคำถามที่เกี่ยวกับทางปฏิบัติที่จะขอวีซ่าเพื่อการลงทุนในสหรัฐอเมริกา คำถามที่มีการถามมากที่สุดคือ การขอวีซ่า EB-5 “ฉันสามารถที่จะเป็นพลเมืองอเมริกันโดยการลงทุนในสหรัฐอเมริกาได้หรือไม่” คำตอบสำหรับคำถามนี้………………และต้องใช้ความเข้าใจในเชิงลึกเกี่ยวกับวีซ่าผู้ลงทุนถาวรประเภท EB-5 และขั้นตอนการขอวีซ่าดังกล่าว
หลายๆประเทศทั่วโลกมีแผนงานที่เปิดอกาสให้นักลงทุนสามารถที่จะได้รับสัญชาติทันทีที่ลงทุนในระบบเศรษฐกิจของประเทศนั้นโดยการออกเอกสารสัญชาติ ในสหรัฐอเมริกานั้นไม่มีแผนงานเช่นนั้น แต่อย่างไรก็ตาม วีซ่าประเภทEB-5 ให้สิทธิแก่ผู้ถือวีซ่าในการเป็นผู้มีถิ่นฐานถาวรในสหรัฐอเมริกาอย่างถูกต้องตามกฎหมาย อันเป็นสิทธิประโยชน์ที่สำคัญ และไม่ควรที่จะให้สิทธิแก่ผู้มีถิ่นฐานถาวรมากเกินไปหลังจากที่สถานะนี้อนุญาตให้ผู้มีถิ่นฐานถาวรอยู่อาศัยและทำงานในสหรัฐอเมริกา หลายๆคนกล่าวถึงผู้ที่มีถิ่นฐานถาวรประเภท “กรีนการ์ด” อาจกล่าวได้ว่า ผู้มีถิ่นฐานถาวรในสหรัฐอเมริกาไม่ใช่พลเมืองสัญชาติอเมริกัน ผู้ที่อยู่ในสถานะกรีนการ์ดไม่ได้รับสิทธิในการลงคะแนนเลือกตั้ง สมัครเข้าเป็นผู้ดำรงตำแหน่งทางการเมือง และไม่สามารถถือหนังสือเดินทางอเมริกัน แม้ว่าผู้ที่มีถิ่นฐานถาวรอย่างถูกต้องตามกฎหมาย (LPR) อาจจะได้รับการอนุญาตให้เข้าออกสหรัฐอเมริกาซึ่งอนุญาตให้บุคคลดังกล่าวออกจากสหรัฐอเมริกาเป็นเวลา 2 ปีโดยไม่ต้องมีข้อสันนิษฐานที่จะยกเลิกการเป็นผู้มีถิ่นฐานได้
แม้ว่าสหรัฐอเมริกาจะไม่มีแผนงานสำหรับ “การได้รับสัญชาติโดยการลงทุน” แต่วีซ่าประเภท EB-5นั้นเป็นขั้นตอนแรกของกระบวนการแปลงสัญชาติ ตัวอย่างเช่น ถ้าผู้ลงทุนถาวรได้รับวีซ่าประเถ้าผู้ลงทุนถาวรได้รับวีซ่าประเภท EB-5และเดินทางเข้ามายังสหรัฐอเมริกาหลังจากนั้นบุคคลดังกล่าวสามารถได้รับสิทธิที่จะเป็นผู้มีถิ่นฐานถาวรในการเข้าเมืองอย่างถูกต้องตามกฎหมาย หลังจากที่อาศัยอยู่ในสหรัฐอเมริกาตามระยะเวลาที่กำหนดไว้ในกฎหมายและเป็นไปตามข้อสันนิษฐานซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ถือวีซ่าประเภท EB-5ต้องจัดการเพื่อการแปลงสัญชาติ การแปลงสัญชาตินั้นเป็นกระบวนการที่ชาวต่างชาตินั้นเป็นพลเมืองสัญชาติอเมริกัน กระบวนการนี้ค่อนข้างที่จะมีความยุ่งยากและเป็นเรื่องที่ดูเหมือนจะซับซ้อนและสร้างความผิดหวังอยู่หลายๆครั้ง สำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับการจัดการเรื่องการเข้าเมือง แต่ในทางทฤษฎีการอนุมัติคำขอในการแปลงสัญชาติของผู้ลงทุนถาวรประเภท EB-5สามารถที่จะเป็นพลเมืองสัญชาติอเมริกันได้
แม้ว่าสหรัฐอเมริกาไม่ได้มีข้อเสนอที่จะให้ “สัญชาติโดยการลงทุน” แต่สหรัฐอเมริกามีการให้ “วิธีการที่จะได้รับสัญชาติโดยการลงทุน” ในรูปแบบของวีซ่าประเภท EB-5ซึ่งเป็นทางที่ทำให้ผู้ถือวีซ่าประเภทดังกล่าวมีโอกาสที่จะได้รัยสัญชาติอเมริกันซึ่งจะต้องเป็นไปตามหลักเกณฑ์อื่นๆและจะต้องปรากฏตัวตนอยู่
To view this information in English, please see the previous post on this blog.
9th November 2010
Since the topic of American Investment visas was first broached on this blog, this author has received some questions regarding the way in which United States Investment Visas actually operate in the real world. One of the most frequently asked questions pertaining to EB-5 visas is: “Can I get US Citizenship by investing in the United States?” The answer to that question is somewhat nuanced and it requires one to have a rather in-depth understanding of the EB-5 Immigrant Investor visa and the process for obtaining this type of travel document.
There are some countries around the world which have programs whereby investors can obtain virtually instantaneous citizenship simply by investing capital into the economy of the country issuing the nationality documents. In the United States, there is no program that operates this way. However, the EB-5 visa does grant the visa holder lawful permanent residence in the USA. This is a substantial benefit and should not be taken for granted as Lawful Permanent Residence is a highly sought after status that allows the Permanent Resident to permanently reside and work in the United States. Many often refer to Lawful Permanent Residence as “Green Card” status. That said, Lawful Permanent Residence is not American Citizenship. Those in the USA in Green Card status are not permitted to vote in elections, run for political office, and such individuals also cannot obtain a US passport. Although, those in Lawful Permanent Resident (LPR) status may be eligible to obtain a US reentry permit which allows the bearer to leave the United States for as long as two years without raising the presumption of residential abandonment.
Although there is no “citizenship by investment” program in the USA, the EB-5 visa could be the first step in the United States Naturalization process. For example, if an immigrant investor is granted an EB-5 visa and enters the United States, then that individual would be granted permanent residence upon lawful admission. After residing in the United States for a statutorily prescribed period of time, and assuming all other criteria are met, it may be possible for an EB-5 visa holder to apply for naturalization. Naturalization is the process whereby a foreign national becomes a United States Citizen. The process can be somewhat cumbersome and for those unaccustomed to dealing with immigration matters it may seem complex and frustrating at times, but upon approval of a petition for naturalization an EB-5 Immigrant Investor could theoretically obtain United States Citizenship.
Even though the United States does not offer a direct “Citizenship by Investment” program, one could argue that the US offers a “Path to Citizenship” by Investment program in the form of the EB-5 visa which places holders of said visa on track to possible American Citizenship should all other criteria be adhered to and the physical presence requirement be met.
For related information please see: EB-5 Visa Thailand, EB-5 Visa China, or EB-5 Visa Taiwan.
8th November 2010
แม้ว่าบล็อกนี้แทบจะไม่ค่อยมีการถกเถียงเรื่อง ประเด็นเศรษฐกิจ แต่เมื่อเรื่องเศรษฐกิจมีผลกระทบต่อประเด็นทางกฎหมาย หรือการเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาซึ่งทำให้การถกเถียงกันในประเด็นนี้เป็นเรื่องที่จำเป็น หลายเดือนที่ผ่านมา เงินดอลลาห์สหรัฐอเมริกาทำให้ค่าเงินของประเทศต่างๆในเอเชียลดลง แต่ไม่ทำให้ค่าเงินหยวนลอยตัวเหมือนเงินสกุลอื่นๆ โดยสรุปแล้ว ภาวะความตึงเครียดทางเศรษฐกิจที่เพิ่มขึ้น ระหว่างสหรัฐอเมริกา สาธารณรัฐประชาชนจีน ราชอาณาจักรไทย และชาติอื่นๆในเอเชีย ในขณะเดียวกัน ค่าเงินของบางประเทศสมาชิกสมาคนเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ (ASEAN) ก็เพิ่มสูงขึ้นเมื่อเทียบกับดอลลาห์สหรัฐ ในบทบรรณาธิการที่กล่าวไว้ใน ThaiVisa.com
ในหลายๆสถานการณ์ที่เงินดอลลาห์กำลังดิ่งลง ค่าเงินดอลลาห์ตกไปอยู่จุดต่ำที่สุดในรอบห้าเดือนเมื่อเปรียบเทียบกับเงินยูโร ทองคำซึ่งเป็นเครื่องที่กีดขวางความคาดหวังความเฟ้อในอนาคตสามารถก้าวขึ้นไปสู่จุดสูงสุดในการคาดการณ์ล่วงหน้าของตลาดซึ่งธนาคารกลางสหรัฐ (Fed) เต็มไปด้วยระบบทางการเงินที่มีความคล่องตัวกว่าในเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกา
การบรรเทาทางการเงินจะส่งผลให้เงินดอลลาห์สหรัฐอ่อนค่าลงมากขึ้น และรัฐบาลสหรัฐดำเนินมาตรการขาดดุล ธนาคารกลางสหรัฐ (Fed) ก็ดำเนินการตามเพื่อช่วยเหลือการซื้อเงินทุนในภาวะขาดดุลซึ่งไม่มีแนวโน้มที่จะลดลงในอนาคตที่สามารถคาดการณ์ได้เนื่องจากความไม่มีเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ รายได้จากภาษีที่ลดลง และภาระหนี้ที่เพิ่มมากขึ้น
ความไม่มั่นคงของสหรัฐอเมริกา วิกฤตการณ์หนี้ในยุโรปและการชะลอตัวทางเศรษฐกิจของญี่ปุ่น ประเทศไทยจะจัดการกับนโยบายที่ท้าทายนี้อย่างไร สิ่งแรกคือค่าเงินบาทยังคงมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นซึ่งเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้ เงินบาทนั้นกำลังกลับไปสู่ยุคของก่อนวิกฤตการณ์ปี 1997ในระดับที่ 25 บาทต่อหนึ่งดอลลาห์
สิ่งที่ควรตระหนักถึงคือ เมื่อธนาคารกลางสหรัฐประกาศว่า จะอัดฉีดเงินจำนวนหกพันล้านดอลลาห์สหรัฐในช่วงหลายๆเดือน ตามที่ได้รวบรวมจากข้อความที่มีการรอ้างถึงข้างบน นโยบายการบรรเทาเชิงปริมาณส่งผลให้ค่าเงินดอลลาห์ลดลลงเมื่อเปรียบเทียบกับสกุลเงินของเอเชีย (และสกุลเงินอื่นๆทั่วโลก แต่บทความนี้มุ่งเน้นไปที่เอเชีย โดยเฉพาะอย่างยิ่งประเทศไทย) ในบทความที่เขียนลงในหนังสือพิมพ์เดอะเนชั่นและเผยแพร่ใน ThaiVisa.com รายละเอียดการถกเถียงประเด็นนี้มี ดังนี้
เมื่อเงินทุนหลั่งไหลจากสหรัฐอเมริกามาสู่เอเชียในปริมาณมาก ส่วนมากไม่สามารถไหลไปยังจีน ดังนั้นจึงเงินจึงอยู่ในตลาดที่ปรากฏออกมาเช่นประเทศอาเซียน กรณ์ จาติกวณิช รัฐมนตรีว่าการกระทรวงการคลังของประเทศไทย กล่าว
“พวกเรา สองเศรษฐกิจยักษ์ใหญ่มีความแตกต่างในประเด็นเรื่องอัตราแลกเปลี่ยน ผมคิดว่า พวกเขาเข้าใจสถานการณ์ที่ลำบาก”นายกร์กล่าว
ค่าของเงินดอลลาห์สหรัฐยังคงลดลงอย่างต่อเนื่อง ในขณะที่ค่าเงินหยวนของจีนยังไม่เพิ่มขึ้น ประกาศการบรรเทาเชิงปริมาณของสหรัฐฉบับล่าสุดมีจุดมุ่งหมายที่จะกระตุ้นเศรษฐกิจภายในของสหรัฐ ค่าของเงินในภูมิภาคเอเชียมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นต่อต้านกับสหรัฐ ค่าของเงินที่สูงขึ้นนี้ต้องตระหนักถึงการแข่งขันเรื่องการส่งออก
สองยักษ์ใหญ่ทางเศรษฐกิจ จีนและอเมริกาต่างมีความเสมอภาคกันในทางค่าของเงินและการค้า แต่ประเด็นที่ส่งผลกับคนไทยคือการเพิ่มขึ้นขิงค่าเงินบาท หลายๆคนมองว่า ไม่ได้สนใจในเรื่องค่าเงินบาทแข็งค่าขึ้นและมันขึ้นอยู่กับสถานการณ์ พวกเขาอาจจะคิดถูก อย่างไรก็ตาม ความผันผวนของค่าเงินที่ผ่านมานั้นสามารรถพิสูจน์ได้ว่า เป็นประโยชน์ต่อคนไทยที่ต้องการวีซ่าผู้ลงทุนในสหรัฐอเมริกา
วีซ่าสหรัฐอเมริกาประเภทEB-5(ประเภทการลงทุนผู้ที่มีถิ่นฐานถาวร)นั้นเป็นเอกสารการเดินทางและผู้ที่อาศัยอยู่ถาวรอย่างถูกต้องตามกฎหมายในการลงทุนที่สหรัฐอเมริกา ในขณะที่ค่าเงินบาทสูงขึ้นเมื่อเทียบกับค่าเงินดอลลาห์สหรัฐซึ่งกลายมาเป็น “ถูกขึ้น” (ในมุมมองของเงินบาท)เพื่อที่จะเป็นไปตามหลักเกณฑ์การลงทุนในสหรัฐ ดังนั้นเงินดอลลาห์กลายมาเป็นอ่อนค่าลงเมื่อเทียบกับเงินบาทไทยซึ่งกลายมาเป็นแพงกว่าเล็กน้อยจากมุมมองของเงินบาทเพื่อที่จะลงทุนในสหรัฐอเมริกา สำหรับผู้ที่ปรารถนาที่จะตั้งถิ่นฐานในสหรัฐอเมริกา อัตราแลกเลี่ยนเงินบาทต่อเงินดอลลาห์เป็นสิ่งที่คาดไม่ถึง
นี่เป็นสิ่งที่เป็นประโยชน์กับเศรษฐกิจสหรัฐอเมริกาเพราะการลงทุนในสหรัฐนำไปสู่การจ้างงานใหม่ นอกจากนี้ การเข้าเมืองที่ถูกต้องตามกฎหมายเป็นหนึ่งในส่วนประกอบหลักที่ขับเคลื่อนเศรษฐกิจอเมริกา ความเข้มแข็งกว่าที่ว่า เศรษฐกิจกลายมาเป็นตัวกระตุ้นที่จะช่วยให้เศรษฐกิจโดยรวมมของอเมริกาฟื้นขึ้น อาจจะทำให้ภาคประชาชนและธุรกิจในสหรัฐอเมริกาและทั่วโลกได้รับผลประโยชน์มากขึ้นด้วย หวังเป็นอย่างยิ่งว่า สถานการณ์นี้จะสำเร็จลุล่วงไปด้วยดี และช่วยฟื้นเศรษฐกิจของสหรัฐอเมริกา
To view this information in English please see the previous posting.
7th November 2010
Although this blog rarely discusses economic issues. When economics has an impact upon legal issues or matters pertaining to United States Immigration, then discussion of economic matters may be warranted. In recent months, the United States dollar has depreciated against many of the currencies of Asia, but there has yet to be significant movement in the Chinese Yuan which does not really “float” on the market as other currencies. As a result, economic tensions have increased between the United States of America, the Peoples’ Republic of China, the Kingdom of Thailand, and other Asian nations. Meanwhile, some of the member states of the Association of South East Asian Nations (ASEAN) have seen their currencies rise significantly against the dollar. In a recent editorial posted on ThaiVisa.com, this issue was discussed in detail:
In any event, the dollar can only go south. The greenback slid to its lowest level in almost five months versus the euro. Gold, which represents a hedge against inflationary expectation, has also climbed to a record high on market anticipation that the Fed will flood the financial system with further liquidity to prop up the US economy.
This monetary easing will result in further weakening of the dollar. And as the US government continues to run a massive deficit, the Fed will be obliged to come to the rescue by purchasing the Treasuries that finance the deficit, which is not likely to come down in the foreseeable future due to economic weakness, falling tax revenue and spending obligations that have dramatically increased.
With the US weakness, a sovereign debt crisis in Europe and deflation in Japan, how will Thailand cope with the policy challenge? The first thing that comes to mind is that the baht will continue its upward trend. This is inevitable. The baht could go back to the pre-1997 crisis level of Bt25 to the dollar…
For those unaware, the United States Federal Reserve Bank recently announced that $600 billion in liquidity would be injected into the United States economy over the course of the coming months. As can be gathered from the above quotation, this “quantitative easing” policy is resulting in a depreciation of the dollar compared to Asian currencies (and other global currencies, but the focus of this post will remain on Asia, specifically Thailand). In an article written in The Nation Newspaper and distributed by ThaiVisa.com this issue was discussed in further detail:
When massive capital outflows from the US head towards Asia, much of it is unable to enter China so it floods other emerging markets, especially Asean countries, Korn [Chatikavanij, Finance Minister of the Kingdom of Thailand] said.
“We would like the two economic giants to settle their differences on the exchange-rate issue. I think they understand our predicament,” said Korn…
On the one hand, the US dollar has continued to depreciate, while on the other, China has not allowed the yuan to appreciate. Given the latest US announcement of quantitative easing aimed at stimulating the domestic US economy, several Asian currencies have significantly appreciated against the US dollar, raising concerns about the region’s export competitiveness…
The twin economic giants of China and America have yet to fully reach equilibrium in matters related to currency and trade, but an immediate issue for many Thai Nationals is the relative appreciation of the Thai Baht. There are many who feel that a strong Baht is not in their interests and depending upon circumstances they may be correct. However, the recent currency fluctuations could prove to be a benefit to those Thai nationals interested in seeking American Immigrant Investor visa benefits.
The United States EB-5 visa (Immigrant Investor category) was designed to provide a travel document and lawful permanent residence to otherwise qualified foreign nationals who wish to make a substantial investment in legally eligible investment programs the United States of America. As the Thai baht has appreciated against the United States dollar it has become relatively “cheaper’ (in Baht terms) to meet some of the investment criteria in the United States. Therefore, as the dollar becomes weaker versus the Thai Baht it becomes less expensive, from a Baht standpoint, to invest in the USA. For those wishing to immigrate to the USA, the current Baht/Dollar exchange rate is something of a windfall.
This could be a boon to the United States economy as well since investment in the United States leads to the creation of new jobs. Furthermore, lawful immigration is one of the central components that drives the American economy. As more Thai nationals invest in the United States economy, the stronger that economy becomes thereby naturally fueling a recover in the overall American economy. As the American economy continues to recover, there may be ancillary benefits that accrue to individuals and businesses in the USA and around the globe. Hopefully this scenario will play out over the coming months and help to spur a recovery in the United States economy.
For related information please see: EB-5 Visa Thailand or US Visa Thailand.
6th November 2010
ผู้ตรวจการ CISทำคำแนะนำเกี่ยวกับขั้นตอนการขอละเว้น I-601
Posted by : admin
การที่ผู้ตรวจการของการบริการคนเข้าเมืองและพลเมืองสหรัฐ (USCIS)มีข้อแนะนำเกี่ยวกับกระบวนการละเว้นของ I-601 เป็นเรื่องที่สร้างความน่าสนใจให้แก่ผู้ที่ติดตามบล็อก อ้างโดยตรงจากบันทึกความเข้าใจที่ผู้อำนวยการ USCIS คือ อเลเจนโดร์ เอ็น มาโยกาส ส่งไปยัง ผู้ตรวจการ CIS เมื่อเดือนมกราคม
ผู้ตรวจการ CISแนะนำว่า USCIS :
รวมศูนย์กลางการดำเนินการในทุกแบบฟอร์มI-601 เพื่อที่จะส่งให้เร็วขึ้นและมีคำวินิจฉัยที่เป็นมาตรฐาน;
จัดให้มีการกรอกแบบฟอร์ม I-601และฟอร์ม I-130 คำขอสำหรับญาติของคนต่างด้าว
จัดลำดับความเสร็จสมบูรณ์ของการจัดการเรื่องที่อยู่ต่างประเทศ (การพัฒนา) เพื่อที่จะรายงานทางสถิติที่ถูกต้องของฟอร์ม I-601 ในการอนุญาต (1) เขียนขั้นตอน (2)การติดตามโดยทาง “สถานะเรื่องของฉัน” ทางเว็บไซต์ USCIS
เผยแพร่คำแนะนำที่จะเสนอแนะแนวทางแก่ลูกความที่มีความประสงค์จะทำให้ขั้นตอนของฟอร์ม I-601เป็นไปอย่างรวดเร็ว
พัฒนาการทำงานร่วมกันระหว่าง DOS เจ้าหน้าที่กงสุล และ ผู้ที่มีอำนาจตัดสินที่จัดการเกี่ยวกับฟอร์มI-601 ที่ CDJ และ
แก้ไขนโยบายของสำนักงาน CDJที่อนุญาตให้ลูกจ้างUSCIS เรียกร้องแฟ้มของชาวต่างชาติแปลงเป็นรูปแบบดิจิตอล(A-files)โดยขึ้นอยู่กับใบเสร็จรับเงินของตารางการสัมภาษณ์
บางประเด็นนั้นอาจเป็นเรื่องที่เกิดก่อนการจัดตั้งการบริการคนเข้าเมืองและพลเมืองสหรัฐ หรือสถานทูตสหรัฐ หรือสถานกงสุลสหรัฐในต่างประเทศ บันทึกที่ได้กล่าวมาแล้วค่อนข้างครอบคลุมและหากต้องการข้อมูลเพิ่มเติมสามารถหาได้จากบันทึกออนไลน์ อาจกล่าวได้ว่า USCIS ได้โต้ตอบในหลายๆประเด็นที่ผู้ตรวจการยกขึ้นมา ตามตัวอย่างข้างล่างนี้
รวมศูนย์กลางการดำเนินการในทุกแบบฟอร์มI-601 เพื่อที่จะส่งให้เร็วขึ้นและมีคำวินิจฉัยที่เป็นมาตรฐาน;
USCIS โต้ตอบ: USCIS เห็นด้วยในบางส่วน
USCIS กำลังประเมินความแตกต่างของรูปแบบการจัดระบบของกระบวนการจัดการฟอร์ม I-601 ข้ามประเทศ ด้วยวัตถุประสงค์ที่สร้างความต่อเนื่องและมีประสิทธิภาพ การใช้ทรัพยากรที่เหมาะสม และลดขั้นตอนการทำงานของเรื่องที่ไม่สามารถได้รับการอนุมัติอย่างรวดเร็ว ในขณะที่การรวมศูนย์กลางเป็นรูปแบบหนึ่งที่จะนำไปสู่เป้าหมาย รูปแบบอื่นๆ ตัวอย่างเช่น สองวัตถุประสงค์เฉพาะ (เช่นกระบวนการเฉพาะสำหรับฟอร์มในสองประเทศเท่านั้น) อาจจะได้รับประโยชน์บางอย่าง
บันทึกได้รับการตอบเพิ่มเติม:
จัดให้มีการกรอกแบบฟอร์ม I-601และฟอร์ม I-130 คำขอสำหรับญาติของคนต่างด้าว ร่วมกัน
USCIS โต้ตอบ: USCIS กำลังพิจารณาข้อแนะนำนี้
ในเดือนเมษายน 2010, USCIS จัดตั้งคณะทำงานภายใต้การนำของสำนักงานนโยบายและโครงสร้างที่จะสำรวจการรวบรวมการกรอกฟอร์มและความเป็นไปได้ในการนำไปใช้ เพราะการเปลี่ยนแปลงในกระบวนการของเราสามารถส่งผลที่ไม่สามารถคาดล่วงหน้า ต้องทำให้เสร็จเรียบร้อยตามรูปแบบซึ่งเป็นไปด้วยความระมัดระวังในการจัดการความคาดหวังของผู้ยื่นคำขอและทรัพยากรของUSCIS คณะทำงานมุ่งเน้นไปที่การประเมินความเป็นไปได้และประโยชน์ที่ได้รับในการเปลี่ยนแปลงกระบวนการที่สำคัญ
คำแนะนำที่สามารถพิสูจน์ความน่าสนใจในทางปฏิบัติในขณะที่การรวบรวมการกรอกฟอร์มไว้ที่จุดเดียวอาจจะไม่มีความเป็นไปได้ ลักษณะของการกล่าวอ้างข้างบนนี้บอกเป็นนัยว่า ก่อนที่จะมีคำแนะนำนี้ได้มีการศึกษาอย่างจริงจัง ในขณะเดียวกัน ภายใต้กระบวนการในปัจจุบันมีผู้ที่ประสงค์จะละเว้นเรื่อง I-601 นอกสหรัฐอเมริกาต้องถือว่าไม่สามารถได้รับคำวินิจฉัยโดยเจ้าหน้าที่กงสุลตามปฏิบัติการของสหรัฐอเมริกา สถานทูตสหรัฐอเมริกา สถานกงสุลสหรัฐอเมริกา ดังนั้น การยื่นคำพร้อมกันตามที่กล่าวข้างต้นนั้นอาจจะไม่สอดคล้องกับกระบวนการในปัจจุบัน
จัดลำดับความเสร็จสมบูรณ์ของการจัดการเรื่องที่อยู่ต่างประเทศ (การพัฒนา) เพื่อที่จะรายงานทางสถิติที่ถูกต้องของฟอร์ม I-601 ในการอนุญาต (1) เขียนขั้นตอน (2)การติดตามโดยทาง “สถานะเรื่องของฉัน” ทางเว็บไซต์ USCIS
USCIS โต้ตอบ: USCIS เห็นด้วย
USCIS รายงานว่าระบบการจัดการเรื่องของ USCIS ในต่างประเทศซึ่งมีตัวแทนที่สำคัญในช่วง FY2010 ซึ่งใช้พนักงานปฏิบัติการระหว่างประเทศในวันที่ 16 สิงหาคม 2553
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า วิธีการนี้จะนำไปสู่การปรับปรุงกระบวนการเข้าเมืองของสหรัฐอเมริกาให้มีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
เผยแพร่คำแนะนำที่จะเสนอแนะแนวทางแก่ลูกความที่มีความประสงค์จะทำให้ขั้นตอนของฟอร์ม I-601เป็นไปอย่างรวดเร็ว
USCIS โต้ตอบ: USCIS เห็นด้วย
USCIS อยู่ในระหว่างการปรับปรุงคู่มือการปฏิบัติการของภาคส่วนที่ดำเนินการระหว่างประเทศเกี่ยวกับคำวินิจฉัยฟอร์ม I-601ที่จะจัดการกับคำร้องที่ขอให้ช่วยเร่งให้กระบวนการต่างๆเร็วขึ้น
หวังเป็นอย่างยิ่งว่า คู่มือใหม่นี้ที่เกี่ยวกับการเร่งให้ขั้นตอนรวดเร็วขึ้นจะช่วยให้ผู้ยื่นคำขอและผู้ที่ได้รับผลประโยชน์เข้าใจถึงการยื่นคำร้องเพื่อที่จะทำให้กระบวนการรวดเร็วขึ้นในเรื่องที่สมควร
พัฒนาการทำงานร่วมกันระหว่าง DOS เจ้าหน้าที่กงสุล และ ผู้ที่มีอำนาจตัดสินที่จัดการเกี่ยวกับฟอร์มI-601 ที่ CDJ
USCIS โต้ตอบ: USCIS เห็นด้วย
USCIS เห็นด้วยว่า DOS เจ้าหน้าที่กงสุล และ ผู้ที่มีอำนาจวินิจฉัยของ USCIS ควรจะรักษาความร่วมมื่อที่แนบแน่นที่ CDJ และที่อื่นๆที่อยู่ต่างประเทศ สำนักงานของUSCISที่อยู่ต่างประเทศนั้นได้รับความร่วมมือจากผู้ร่วมงานDOS ใน CDJ เจ้าหน้าที่กงสุล DOS และผู้ที่มีอำนาจวินิจฉัยของ USCISมีการปรึกษาหารือกันทุกวันผู้อำนวยการของ USCIS CDJ และหัวหน้าวีซ่าประเภทถาวรยังคงติดต่อกันอยู่ทุกวัน
.ในหลายๆวิธี ความร่วมมือระหว่างเจ้าหน้าที่ของตัวเทนของรัฐบาลที่แตกต่างกันเป็นตัวแทนที่ดีที่สุดของการการปรับปรุงพัฒนากระบวนการขอวีซ่าให้ดีขึ้น แม้ว่า ผู้ที่เข้าใจในกระบวนการละเว้นของกระบวนการ I-601 นั้นต้องระลึกว่า เจ้าหน้าที่กงสุลและเจ้าหน้าที่USCIS ต้องยังคงต้องทำหน้าที่ต่อไป
แก้ไขนโยบายของสำนักงาน CDJที่อนุญาตให้ลูกจ้างUSCIS เรียกร้องแฟ้มของชาวต่างชาติแปลงเป็นรูปแบบดิจิตอล(A-files)โดยขึ้นอยู่กับใบเสร็จรับเงินของตารางการสัมภาษณ์
USCIS โต้ตอบ: USCIS เห็นด้วยบางส่วน
USCIS เห็นด้วยว่า กระบวนการวินิจฉัยควรจะเรียกร้องบันทึก A-file(ไม่ว่าจะอยู่ในรูปแบบดิจิตอล หรือต้นฉบับก็ตามและเป็นวิธีการประเมินเพื่อที่จะบรรลุเป้าหมายโดยปราศจากความล่าช้า
แม้ว่าบันทึกแบบดิจิตอลจะมีประสิทธิภาพมากกว่า แต่ต้องใช้เวลากว่าจะบรรลุผลตามคำแนะนำ
กระบวนการการขอวีซ่า หรือการขอละเว้นของการไม่สามารถได้รับ I-601นั้นเป็นเรื่องที่เข้าใจยากสำหรับผู้ที่ไม่คุ้นเคยกับกระบวนการคนเข้าเมือง ในหลายๆเรื่องที่เกี่ยวกับการขอละเว้นของ I-601 แต่ละคนหรือหลายๆคู่เลือกที่จะขอความช่วยเหลือจากทนายความอเมริกันที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับการเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาและได้รับอนุญาตที่ให้คำแนะนำและคำปรึกษาที่เหมาะสมกับประเภทการเดินทางและการขอละเว้นการไม่สามารถเดินทางไปสหรัฐอเมริกาได้
To read this post in English please see: I-601 waiver.
5th November 2010
As the recent mid-term elections dealt something of a blow to the Democrats in the United States Senate and a significant setback for said party in the United States House of Representatives many are pondering the future of legislation such as UAFA (Uniting American Families Act). Those unfamiliar with LGBT Immigration issues should note that under the Defense of Marriage Act (DOMA), same-sex bi-national couples are not permitted equal access to US family visa benefits even in cases where the same sex couple has legally solemnized a marriage within a jurisdiction of the USA. Due to the fact that bi-national LGBT couples still cannot receive equal immigration rights compared to their different-sex counterparts many couples are left separated from their loved one(s), sometimes by great distances. Other websites are noticeably vocal about their opinions regarding the future of UAFA, the past strategies utilized by LGBT Immigration Rights activists, and the future tactics that may be employed in the quest to see bi-national same-sex couples receive the same immigration benefits as different-sex couples. To quote directly from the website lezgetreal.com:
The Uniting American Families Act was introduced into Congress during January of 2009, by Rep. Jerold Nadler, D, NY. Since that time there have been more co-sponsors than any other LGBT equality legislation on record. Yet instead of pursuing UAFA as a stand alone Bill – with the fervor and impetus provided by the June 03, 2009 hearings in the Senate Judiciary Committee, Rachel Tiven, of Immigration Equality turned its limited resources to Immigration Reform and has spent the past 18 months chasing Comprehensive Immigration Reform for the longest time when it did not even exist. Now we have been included in the Menendez Senate version – but so what? Who in heavens name imagines Immigration Reform with Amnesty in it passing through the new Congress? And it is way to complicated and far behind to get through during the lame duck. I assure you of that!
The aforementioned website is often quite vocal in its support for LGBT Immigration rights. It would seem that some feel as though UAFA should not necessarily be pursued within the context of a broader Comprehensive Immigration Reform bill. This is likely due to the fact that Immigration reform remains a very controversial issue and some LGBT-rights advocates feel that pursuing a unilateral strategy of seeking equal equal rights for same-sex bi-national couples outside of Comprehensive Immigration Reform (CIR) would be more effective than trying to pass CIR with UAFA-like language included since CIR may not pass at all. Bearing this in mind the reader should note that the website ImmigrationEquality.org made a clarification regarding their overall strategy for securing equal rights for same sex bi-national couples:
Our philosophy has always been the same. We will pursue every available option for ending discrimination against our families. When we opened our Washington, D.C., office last year, we were clear: When it comes to passing UAFA, we mean business. Since then, our policy team has been working around the clock on a strategy that builds support for UAFA either as a stand-alone bill, or as part of comprehensive immigration reform. If Congress tackles comprehensive legislation – and it offers the first opportunity to win – we want to be part of that bill. And if the political reality becomes one that presents an opportunity to pass UAFA on its own, we want to be prepared to seize that opportunity as well.
It will be interesting to see what will happen to UAFA in the upcoming “lame duck” legislative session. There are some who would argue that a “lame duck” Democratic Congressional session is the perfect environment for pursuing UAFA as a stand alone piece of legislation since there are presumably still many supporters of such a policy on Capitol Hill who may have little to lose politically by supporting such legislation. As the future of UAFA has yet to be determined, but the plight of many same-sex bi-national couples remains untenable under the current circumstances.
It should also be noted that the US Congress is not the only forum in which this issue may ultimately be decided as the US Courts, and possibly the United States Supreme Court may be the body that ends up adjudicating this issue since the lower Courts’ hearing of cases challenging the Constitutionality of the Defense of Marriage Act (DOMA).
For related information please see: Same Sex Visa or K1 visa.
4th November 2010
การบริการคนเข้าเมืองและพลเมืองอเมริกัน (USCIS) รับผิดชอบในการวินิจฉัยและขั้นตอนการทำคำขอเพื่อสิทธิประโยชน์คนเข้าเมืองอเมริกัน เรื่องหลักๆส่วนมากแล้ว ผู้ยื่นคำขอประสงค์ที่จะยื่นคำขอในสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตามในบางกรณี อาจมีความเป็นไปได้ที่การยื่นขอสิทธิประโยชน์ของวีซ่าคู่แต่งงานอาจยื่นที่สำนักงานUSCISที่อยู่ต่างประเทศ หรือยื่นโดยตรงที่กงสุลอเมริกา สถานทูตที่อยู่ต่างประเทศ
ภาคส่วนการปฏิบัติการ USCIS ระหว่างประเทศ สำนักงานนโยบายเละโครงสร้าง สำนักงานความผูกพันสาธารณะเชิญคุณเข้าร่วมในการประชุมทางไกลเพื่อที่จะอภิปรายถึงการเปลี่ยนแปลงในการวินิจฉัยฟอร์ม I-130 คำร้องของญาติคนต่างชาติซึ่งยื่นโดยผู้ยื่นคำขอที่พักอาศัยอยู่ต่างประเทศ ในเวลานี้ ผู้ยื่นคำขอที่อาศัยอยู่นอกสหรัฐอเมริกาอาจจะยื่นฟอร์ม I-130 และคำขอนั้นจะวินิจฉัยโดยสำนักงาน USCIS หรือกงสุลอเมริกันที่อยู่ในต่างประเทศ USCIS กำลังทบทวนทางเลือกที่จะมีการวินิจฉัยฟอร์มI-130อย่างเป็นการภายใน ในระหว่างช่วงนี้ USCISจะจัดการภาพรวมที่อาจจะกระทบต่อการยื่นแบบฟอร์มและคำวินิจฉัยในขณะเดียวกับการตอบคำถามและคลายความกังวลจากผู้ถือผลประโยชน์
ไม่ว่านโยบายที่เสนอไปนั้นจะเกิดผลหรือไม่ แต่ถ้านโยบายนี้มีผลบังคับใช้แล้ว การทำวีซ่าถาวรจะมีความเป็นไปได้ที่จะยื่นขอรับผลประโยชน์วีซ่าในสหรัฐอเมริกา
ขั้นตอนการเข้าเมืองสหรัฐอเมริกานั้นขึ้นอยู่กัข้อเท็จจริงที่หลากหลายและประเภทของวีซ่า ดังนั้นผู้ที่มองหาวีซ่าประเภท CR1 หรือ IR1จะไม่ต้องประสบกับขั้นตอนเดียวกับผู้ที่กำลังทำวีซ่าประเภท K1 ผู้ที่กำลังจะมองหาสิทธิประโยชน์ของวีซ่าประเภทไม่ถาวรในขณะเดียวกันผู้ยื่นคำขอก็ไม่ประสงค์ที่จะเริ่มยื่นคำขอเกี่ยวกวับการเข้าเมืองในสหรัฐอเมริกา อย่างไรก็ตาม ผู้ยื่นคำขอสำหรับวีซ่าประเภทไม่ถาวรจะต้องได้รับการตรวจสอบตามบทบัญญัติมาตรา 214บี พระราชบัญญํติสัญชาติและคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาซึ่งมีแนวโน้มที่อาจจะได้รับการปฏิเสธวีซ่าเมื่อเปรียบเทียบวีซ่าประเภทอื่น
หลายๆคนอาจจะสนใจที่จะใช้บริการจากผู้เชี่ยวชาญในกระบวนการเข้าเมืองในขณะเดียวกับการหาคำแนะนำที่น่าเชื่อถือจากผู้ที่มีประสบการณ์เกี่ยวกับกฎหมายคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกา ทนายความอเมริกันเท่านั้นที่จะมีสิทธิที่จะเรียกเก็บค่าธรรมเนียมจากการให้คำแนะนำและคำปรึกษาในเรื่องการเข้าเมือง
To read this post in English please refer to the previous posting on this blog.
3rd November 2010
The United States Citizenship and Immigration Service (USCIS) is responsible for adjudicating and processing petitions for American Immigration benefits. In the majority of cases, the petitioner is required to file a petition in the USA. However, in some relatively rare cases, it may be possible to file for immigrant spouse visa benefits at either an overseas office of USCIS or through Direct Consular Filing at a United States Mission, Embassy, or Consulate abroad. This blogger recently discovered that the USCIS is inviting stakeholders to a meeting to discuss overseas filings of I-130 petitions. To quote directly from a recent memo distributed by the Department of Homeland Security’s USCIS:
The USCIS International Operations Division, Office of Policy & Strategy, and Office of Public Engagement invite you to participate in a teleconference to discuss changes to the adjudication of the Form I-130, Petition for Alien Relative, filed by petitioners residing overseas.
Currently, petitioners living outside the United States may file a Form I-130 with and have the petition adjudicated by a USCIS field office or American Consulate overseas. USCIS is reviewing options to have all Forms I-130 adjudicated domestically. During the session, USCIS will provide an overview of how changes may affect filing and adjudication as well as address questions and concerns from stakeholders.
It remains to be seen whether or not this proposed policy will be implemented, but if the policy is implemented, then all of those seeking immigrant visas will probably be required to file for visa benefits at a facility in the USA.
The United States Immigration process can vary depending upon the facts of a given case and the visa category being sought. Therefore, those seeking a CR1 visa or an IR1 visa will not undergo the same process as one who is seeking a K1 visa. This is especially true in cases where individuals are seeking non-immigrant visa benefits as many of these applications do not require the initial filing of an immigration petition in the USA. However, applicants for non-immigrant visa categories are likely to be scrutinized pursuant to the provisions of section 214b of the United States Immigration and Nationality Act which can lead to a higher number of visa denials when compared to immigrant visa categories.
Those interested in retaining the services of a professional to assist in the immigration process are well advised to ascertain the credentials of those claiming expertise in United States Immigration law as only a licensed American attorney is entitled to provide advice and counsel in immigration related matters for a fee.
2nd November 2010
CIS Ombudsman Makes Recommendations Regarding I-601 Waiver Processing
Posted by : admin
It recently came to the attention of this blogger that the Ombudsman for the United States Citizenship and Immigration Service (USCIS) has made some recommendations regarding the processing procedures associated with the I-601 waiver. To quote directly from a recent Memorandum sent to CIS Ombudsman January Contreras from USCIS Director Alejandro N. Mayorkas:
The CIS Ombudsman recommends that USCIS:
• Centralize processing of all Forms 1-601 to deliver faster and more standardized
adjudication; .• Provide for concurrent filing of Form 1-601 and Form 1-130, Petition for Alien Relative;
• Prioritize the finalization of its overseas case management system (currently in
development) to provide for accurate statistical reporting of Forms.1-601, allowing for:
(1) posted processing times, and (2) tracking via the “My Case Status” feature on the
USCIS website;• Publish clear filing instructions to guide customers in need of expedited Form 1-601
processing;• Improve coordination between DOS consular· officers and USCIS adjudicators who work
with Forms 1-601 at CDJ; and,• Amend CDJ’s office policy to allow USCIS employees to request digitized Alien Files
(A-files) upon receipt of interview schedules.
Some of these issues have been raised by those with cases pending before the United States Citizenship and Immigration Service or a US Embassy or US Consulate overseas. The aforementioned memorandum is quite extensive and those interested in learning further should check out the full memo online. That said, USCIS responded to many of the issues raised by the Ombudsman. For example, the memo noted the following:
1. Centralize processing of all Forms 1-601 to deliver faster and more standardized adjudication.
USCIS Response: USCIS agrees in part.
USCIS is currently evaluating different organizational models for processing Forms 1-601 filed overseas, with the aim of enhancing consistency and efficiency, optimizing use of USCIS resources, and further decreasing processing times for cases that cannot be quickly approved. While centralization is one model that could further these goals; other models, such as bispecialization (i.e.,processing particular forms in two locations only), may have some advantages…
The memorandum went on to reply further:
2. Provide for concurrent filing of Form 1-601 and Form 1-130, Petition for Alien Relative.
USCIS Response: USCIS is considering this recommendation.
In April 2010, USCIS formed a working group under the leadership of the Office of Policy and Strategy to explore concurrent filing and any possible challenges to implementation. Because the change in our process could result in unanticipated complications, it would have to be done in a manner that carefully manages applicant expectations and USCIS resources. The working group is focused on evaluating the feasibility and benefits of the potential process change…
This suggestion could prove interesting in practice as the dynamics of concurrent filing may not be feasible. As the tone of the above citation implies, there may be a great deal of study before such a suggestion could be acted upon. Meanwhile, under the current processing scheme those who need an I-601 waiver outside of the United States must first be deemed inadmissible in a visa adjudication conducted by a Consular Officer at a US Mission, US Embassy, or US Consulate abroad. Therefore, simultaneous application submission as suggested above may not comport with current processing procedures.
3. Prioritize the finalization of its overseas case management system (currently in development) to provide for accurate statistical reporting of Forms 1-601, allowing for: (1) posted processing times, and (2) tracking via the “My Case Status” feature on the USCIS website.
USCIS Response: USCIS agrees.
USCIS is pleased to report that the USCIS overseas case management system, which has been an Agency priority over the course of FY2010, was released for use by all International Operations staff on August 16, 2010.
Hopefully, measures such as those noted above will lead to further streamlining of the overall United States Immigration process.To quote the memorandum further:
4. Publish clear filing instructions to guide Customers in need of expedited Form 1-601 processing.
USCIS Response: USCIS agrees.
USCIS is in the process of updating its International Operations Division’s standard operating guidance on Form 1-601 adjudications to address requests for expedited processing.
Hopefully, new guidance about expedited processing will assist petitioners and beneficiaries in understanding how to go about requesting expedited processing in cases where such service is warranted.
5. Improve coordination between DOS consular officers and USCIS adjudicators who work with Forms 1-601 at CDJ.
USCIS Response: USCIS agrees.
USCIS agrees that DOS consular officers and USCIS adjudicators should maintain close coordination at CDJ and all other overseas posts. All USCIS overseas offices closely collaborate with their DOS colleagues. In CDJ, DOS consular officers and USCIS adjudicators discuss shared concerns every day. The USCIS CDJ Field Office Director and the Immigrant Visa Chief also maintain daily contact…
In many ways, cooperation between officers at different government agencies represents one of the best hopes for an overall streamlining of the visa process. Although, those interested in understanding the I-601 waiver process should note that there are some functions that must be performed by Consular Officers and some that must be performed by USCIS Officers. In any case, effective communication between multiple individuals and agencies is likely to result in more convenience for those seeking an immigration benefit.
6. Amend CDJ’s office policy to allow USCIS employees to request digitized Alien Files (Afiles) upon receipt of interview schedules.
USCIS Response: USCIS agrees in part.
USCIS agrees that A-file records (whether digitized or hard copy) should be requested early in the adjudication process and is evaluating procedures to achieve this goal without significantly delaying the process.
Although digitized records represent further efficiency, it may take time to implement the recommendation noted above.
The process of obtaining a visa or an I-601 waiver of inadmissibility can be difficult to understand for those unaccustomed to the immigration process. In many cases where involving I-601 waivers, individuals or couples sometimes opt to retain the assistance of an American attorney experienced in United States Immigration matters as such individuals are licensed to provide advice and counsel in matters pertaining to US travel documents and waivers of inadmissibility to the USA.
Fore related information please see: US Visa Denial or K1 visa.
1st November 2010
สื่อสาธารณะ, การฉ้อฉลวีซ่า และการเผชิญโลกใหม่ของการเข้าเมืองสหรัฐ
Posted by : admin
เมื่อหลายสัปดาห์ก่อน บางเว็บไซต์ได้นำเสนอข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับบันทึกจากหน่วยบริการพลเมืองสหรัฐอเมริกาและคนเข้าเมือง (USCIS) ซึ่งปราศรัยต่อหน้าสื่อมวลชนและมีความสัมพันธ์กันในบริบทของการเข้าเมืองสหรัฐอเมริกา อ้างถึงบางส่วนของบันทึกดังกล่าวซึ่งปรากฏอยู่ในเว็บไซต์ EFF.org (มูลนิธิขอบเขตความรู้ทางอิเล็กทรอนิกส์):
อินเตอร์เน็ตมีส่วนช่วยทำให้ผู้คนติดต่อสื่อสารกันได้ง่ายขึ้นไม่ว่าจะเป็นครอบครัวที่อยู่ห่างไกลกัน เพื่อน หรือการมองหาความรักและวามสัมพันธ์ใหม่ๆ เครือข่ายทางสังคมเช่น MySpace, Facebook, Classmates, Hi-5 และไซต์อื่นๆนั้นถูกออกแบบมาเพื่อที่จะแลกเปลี่ยนความคิดสร้างสรรค์ รูปภาพและข้อมูลต่างๆกับคนอื่น ในบางครั้ง หลายๆคนตามหาความโรแมนติก บางครั้งหลายๆคนมองหาเพื่อนที่มีความสนใจคล้ายๆกันและบางครั้งพวกเขาก็ใช้เป็นสื่อในการเข้าถึงครอบครัว ทั้งหมดนี้เป็นจุดที่ได้เปรียบเป็นอย่างดีสำหรับ FDNS ที่จะตรวจสอบพฤติกรรมในชีวิตประจำวันของผู้ที่ได้รับผลประโยชน์และผู้ยื่นคำขอซึ่งเป็นผู้ที่มีพฤติกรรมฉ้อฉล โดยทั่วไปแล้ว ผู้คนมักจะพูดอย่างตรงไปตรงมาในเครือข่ายของตนเพราะทั้งหมดนั้นเป็นการติดต่อกันกับเพื่อนและครอบครัวโดยทางIM’s (ข้อความโต้ตอบ), บล็อก (เว็บนิตยสาร) และอื่นๆ เครือข่ายทางสังคมให้โอกาสแก่ FDNS ในการเปิดเผยการฉ้อฉลโดยการค้นหาเว็บไซต์เหล่านี้เพื่อที่จะตรวจสอบว่า ความสัมพันธ์ของผู้ยื่นคำขอและผู้ที่ได้รับผลประโยชน์เป็นไปอย่างถูกต้องหรือพยายามที่จะหลอกลวงแก่ CIS
การฉ้อฉลเกี่ยววกับวีซ่าและครเข้าเมืองเป็นสิ่งที่ต้องงตระหนักถึงในเบื้องต้นของกระทรวงความมั่นคงแห่งมาตุภูมิ, USCIS, และการรักษาความปลอดภัยในปรเทศและการป้องกันการฉ้อฉล (FDNS) ดังนั้นการตรวจสอบหลักสุจริตของความสัมพันธ์บนพื้นฐานของการขอวีซ่าเป็นมากกว่าสิ่งที่ต้องทำเป็นประจำในสถานการณ์ที่พลเมืองสหรัฐหรือผู้ที่มีถิ่นฐานถาวรอย่างถูกต้องตามกฎหมายนั้นยื่นคำขอในเรื่องสิทธิประโยชน์การเข้าเมืองของคู่รักดที่เป็นชาวต่างชาติ อาจกล่าวได้โดยนัยว่า การตรวจตราไซต์สื่อสาธารณะของUSCIS สามารถสร้างความตระหนกสำหรับหลักฐานต่างๆที่เกิดขึ้น อ้างจาก บล็อกในเว็บไซต์ ImmigrationEquality.org :
ในขณะที่พวกเราไม่เคยส่งเสริมใครก็ตามในการฉ้อฉลการเข้าเมือง มันเป็นการขัดขวางที่จะคิดถึงเจ้าหน้าที่รัฐทำความรู้จักกับคนเข้าเมืองที่ไม่เคยรู้จักโดยการการใช้ข้อมูลส่วนบุคคลที่พวกเขาเขียนไว้อ้างต่อพวกเขา ในขณะที่เทคโนโลยีก้าวหน้าไปอย่างรวดเร็ว สิ่งที่สำคัญคือ เมื่อคุณเขียนข้อความใดๆลงในเว็บสาธารณะแล้วเป็นสิ่งที่คาดไว้ได้ล่วงหน้าเลยว่า มันจะถูกนำมาใช้อ้างยันกับคุณได้
การฉ้อฉลเรื่องการเข้าเมืองเป็นประเด็นที่สำคัญ ในขณะที่ กฎหมายคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกานั้นสนับสนุนเรื่องสิทธิประโยชน์ของการเข้าเมืองและการวินิจฉัยคำขอเรื่องการเข้าเมือง เทคโนโลยีสมัยใหม่นั้นสร้างทางเลือกใหม่ๆในการติดต่อกับเพื่อน ครอบครัว และคนรักที่อยู่ทั่วทุกมุมโลก อย่างไรก็ตาม ข้อคิดเห็นทางไซต์สาธารณะที่ดูเหมือนว่าจะไม่เป็นอันตรายในเวลาที่มีการแสดงความคิดเห็นนั้นถูกตรวจสอบโดยผู้ที่ทำหน้าที่ตรวจสอบการเข้าเมืองซึ่งไม่ได้มีความคุ้นเคยเป็นการส่วนตัวกับบุคคลที่แสดงความคิดเห็น ในตอนจบของวัน หัวข้อหลักที่ได้จากการรวบรวมข้อมูลในบันทึกที่เกี่ยวข้องนี้ คือ อย่าพยายามที่จะหลอกลวงรัฐบาลสหรัฐในการที่จะทำให้ได้มาซึ่งสิทธิประโยชน์และแม้แต่การค้นหาสิทธิประโยชน์บนหลักแห่งความสุจริตนั้นควรจะตระหนักถึงข้อเท็จจริงของข้อมูลที่เขียนในเว็บไซต์สื่อสาธารณะ และต้องมีการตรวจสอบอย่างละเอียดถี่ถ้วนโดยเจ้าหน้าที่การเข้าเมืองและหรือผู้ตรวจสอบ
To read this piece in English, please see: I-601 waiver
The hiring of a lawyer is an important decision that should not be based solely on advertisement. Before you decide, ask us to send you free written information about our qualifications and experience. The information presented on this site should not be construed to be formal legal advice nor the formation of a lawyer/client relationship.