blog-hdr.gif

Integrity Legal

Archive for April, 2010

30th April 2010

Repeatedly, this author uses this blog as a platform to try to educate the public regarding the US visa process and the problems that can arise during that process. In many cases, people are simply unaware of the rules regarding US visa issuance and this blog attempts to provide relevant information that readers may find beneficial. That being said, another frequently discussed topic is the unauthorized practice of law by “visa companies” and “visa agents” or those claiming to be American attorneys. This is not simply a tirade against such practices, but is intended to provide information regarding the detrimental impact that these individuals can have upon the interests of their “clients”.

Under section 292.1 of the United States Code of Federal Regulations a licensed attorney is entitled to represent clients before the United States Department of Homeland Security, specifically the United States Citizenship and Immigration Service (USCIS) which is tasked with adjudicating US visa petitions. Many are unaware of the fact that those who assist individuals in preparing visa petitions are engaging in the unauthorized practice of law if they are not: licensed to practice law in at least one US jurisdiction while being eligible to practice law in all US jurisdictions or certified by the Board of Immigration Appeals (BIA).

Licensure is no small matter, especially for those individuals who are “represented” by those claiming to be attorneys who are not, in fact, licensed. For example, if an American talks to an unlicensed individual about sensitive matters, then such communications would not be confidential and also would not be protected under the attorney/client privilege. If one is communicating in confidence to a licensed attorney, then such communication is “out of bounds” for US Courts. However, the same communications with one who is unlicensed could be used as evidence in a US court proceeding. Therefore, licensure is extremely important particularly in US Immigration matters involving a legal ground of inadmissibility or an I-601 waiver as certain information could be very detrimental to clients’ interests and if imparted to a licensed American attorney would be confidential, but if imparted to an unlicensed “fly by night” operator such information could be used against the client at a later date.

For all of these reasons, when an American is outside of the USA it is always prudent to check the credentials of anyone claiming to be an attorney from the United States. An individual can provide adequate credentials if they can show their license to practice law before at least on State Supreme Court in the US, or a Federal license to practice law in the USA, or a license to practice law in one of the US territorial jurisdictions (Guam, Puerto Rico, the US Virgin Islands, etc). Anyone who refuses to provide any such credentials and yet still asserts that they are an American attorney should be avoided until proof of credentials can be provided.

For further information about US Immigration from Thailand please see: K1 Visa Thailand.

more Comments: 04

29th April 2010

In a recent case that was heard and adjudicated by the United States Supreme Court, the issue of Immigrants’ right to counsel was taken up and the outcome of the case resulted in a landmark opinion and a watershed moment for the rights of Immigrants in the United States of America. The case is known as Padilla v. Kentucky, the following quote comes from an email from the Law Corporation of Alice M. Yardum-Hunter:

The case involved a 40-year permanent resident, Jose Padilla, whose criminal defense lawyer advised him not to worry about the immigration consequences of pleading guilty to a crime. That advice was not only wrong but the guilty plea subjected Mr. Padilla to mandatory deportation from the United States. The Kentucky Supreme Court held that Mr. Padilla had no right to withdraw his plea when he learned of the deportation consequence. The Supreme Court reversed that decision and rejected the federal government’s position – also adopted by several other courts – that a noncitizen is protected only from “affirmative misadvice” and not from a lawyer’s failure to provide any advice about the immigration consequences of a plea. The Court held that Mr. Padilla’s counsel was constitutionally deficient and affirmed that immigrants should not be held accountable when they rely on incorrect advice from their lawyers or where counsel fails to provide any immigration advice at all.

The implications of this case are important for attorneys practicing in the United States as they will now be required to provide advice about the legal consequences of certain activities from an Immigration perspective.

This is also important for those American Immigration Lawyers practicing outside of the United States. For example, if an individual with lawful permanent residence in the United States is abroad and learns of a pending criminal warrant or fugitive warrant, then that individual may choose to retain the advice of a US lawyer outside of the United States. In that case, the lawyer would be required, under the provisions of this recently adjudicated decision, to provide advice regarding the immigration consequences of a guilty plea in a pending criminal matter.

This example illustrates one more reason why it is so important to retain the advice of an individual who is licensed to practice law in the USA. This is particularly important in a country such as Thailand where the existence of “visa companies,” “visa agents,” and unlicensed and non-accredited so-called “lawyers” and “attorneys” operate with little oversight. Many are unaware of the implications of a criminal pleading in an immigration context and this ignorance can lead to unforeseen difficulties for US Immigrants overseas.

For information about United States Immigration from Thailand please see: K1 Visa Thailand.

more Comments: 04

28th April 2010

Recently, the website Thaivisa.com has reported that the Thai Ministry of Foreign Affairs has announced that the Tourist visa waiver program will be extended. The following is a direct quote from Thaivisa.com:

“Thailand extends tourist visa fee exemption scheme until 31 March 2011

BANGKOK: — The Royal Thai Government has extended the tourist visa fee exemption scheme that had expired in March 2010. As a result of the decision, foreign citizens that qualify for a tourist visa are not subjected to a visa fee. The exemption scheme will be in effect from 11 May 2010 until 31 March 2011 (the fee exemption is not extended to other types of visas).

For further information please contact the Consular Department, Ministry of Foreign Affairs of Thailand (662-981-7171)or the Royal Thai Missions or visit Visas and Travel Documents webpage.”

Although the impact of this program remains to be seen it can be assumed that this can only benefit the Thai Tourism sector, particularly in light of the recent disturbances in Bangkok. Hopefully, this fee waiver, along with a concerted effort by Thai Tourism authorities will lead to an increase in the annual number of tourists traveling to the Kingdom of Thailand.

It should be noted that this will likely not have any impact upon the fees associated with other categories such as the O visa and the ED visa. However, business travelers to Thailand still seem to be applying for the Thai business visa with the same frequency as was the case prior to the recent slump of travelers to Thailand.

Those interested in obtaining a Thai tourist visa should contact the nearest Royal Thai Embassy or Consulate. In the immediate vicinity of the Kingdom of Thailand the most popular destinations for “visa runs” are Laos, Malaysia, and Myanmar. Although Cambodia is a frequent destination for Thai visa runners it is not generally the location of choice for those wishing to obtain a new visa, but is instead rather popular for those who simply wish to travel to the border and get stamped in and out of Thailand.

The Royal Thai Consulate in Penang was once a popular locale for “visa runs,” but fewer visa runners seem to be using this post since they seem to only allow issuance of one Tourist visa per applicant. Recently the Thai Embassy Kuala Lumpur began requiring a that applicants have a work permit with a rather lengthy period of validity remaining  when applying for a 1 year Thailand business visa. This has caused many who seek 1 year Thai visas to opt to seek such travel documents at other Consulates.

For further information please see: Thailand Tourist visa.


more Comments: 04

27th April 2010

ภายใต้มาตรา 214b แห่งพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองและสัญชาติ เจ้าหน้าที่กงสุลสามารถปฏิเสธวีซ่าชั่วคราว ( เจ วัน , เอฟ วัน, บี วัน และ บี ทู ) หากเชื่อว่าคนต่างด้าวผู้ยื่นขวีซ่าไม่สามารถโต้แย้งข้อสันนิษฐานว่าจะอพยพเข้าเมืองได้ ในบางกรณี กงสุลาจจะออกวีซ่าท่องเที่ยวให้ แต่คนต่างด้าวก็อาจถูกปฏิเสธขณะจะเข้าประเทศได้เช่นกัน

คนต่างด้าวได้รับวีซ่าแล้วแต่ถูกปฏิเสธไม่ให้เข้าประเทศได้อย่างไร ? มีความเข้าใจผิดๆที่ว่า ถ้าได้วีซ่าแล้วก็เท่ากับว่า มีสิทธิเข้าประเทศสหรัฐอเมริกาได้ อันที่จริง เจ้าหน้าที่ศุลกากรและ ตำรวจตรวจคนเข้าเมืองมีดุลยพินิจที่จะปฏิเสธคนต่างด้าวไม่ให้เข้าเมืองได้ ถ้าเชื่อว่ามีเหตุให้ปฏิเสธ หากว่าเจ้าหน้ามีมีเหตุให้เชื่อว่าคนต่างด้าวมีวัตถุประสงค์อพยพ ก็มีสิทธิปฏิเสธไม่ให้เข้าเมืองและยังมีอำนาจดุลพินิจในการเร่งส่งตัวกลับเพื่อจัดการให้คนต่างด้าวออกนอกประเทศได้อีกด้วย

ความในพระราชบัญญัติสัญชาติกล่าวว่า

ตามมาตรา 212 (a)(7)(A)(i) แห่งพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองและสัญชาติ ผู้อพยพคนใด ในขณะที่ยื่นคำขอเข้าเมือง :

ไม่ได้ถือวีซ่าถาวรที่ยังไม่หมดอายุ คำขอกลับเข้ามาใหม่ หรือหนังสือสำคัญประจำตัวในการผ่านด่าน หรือหนังสือสำคัญอื่นๆที่กำหนดไว้ตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองและสัญชาติ และหนังสือเดินทางที่ยังไม่หมดอายุ หรือ เอกสารเดินทางอื่นๆที่ใช้ได้ในลักษณะเดียวกันภายใต้กฎเกณฑ์คนเข้าเมือง หรือวีซ่าที่ไม่ได้ออกให้โดยสอดคล้องกับกฎเกณฑ์ที่บัญญัติไว้ในพระราชบัญญัติสัณชาติและคนเข้าเมืองสามารถถูกกันไม่ให้เข้าเมืองได้ (จากสหรัฐอเมริกา )

การขอละเว้นโทษมีอยู่ภายใต้มาตรา 212(k) ซึ่งสำนักอัยการสูงสุดพอใจว่าการกันไม่ให้เข้าเมืองนั้นไม่สามารถทราบได้ และไม่สามารถทราบได้แน่นอนโดยดุลวินิฉัยของคนต่างด้าวนั้นก่อนที่ยานพาหนะจะออกเดินทางมาจากจุดหมายนอกประเทศสหรัฐอเมริกา และนอกดินแดนรัฐอารักขา หรือในกรณีที่คนต่างด้าวนั้นมาจากรัฐอารักขา ให้ใช้เวลาก่อนที่คนต่างด้าวจะยื่นขอให้รับเข้าเมือง

อำนาจของเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองดังที่ได้อธิบายไว้ข้างต้นแสดงให้เห็นเหตุผลในการที่ต้องขอวีซ่าให้ถูกประเภทแทนที่จะพยายามลอดช่องโหว่ของกฎหมายคนเข้าเมือง ตัวอย่างเช่น มีคนอเมริกันบางคนที่มีคนรักเป็นบุคคลสัณชาติไทยและหวังที่จะนำเขาหรือเธอเหล่านั้นไปอเมริกาโดยมีจุดประสงค์ที่จะสมรสหรือเพื่อปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็นผู้พำนักอาศัยถาวร หรือผุ้ถือกรีนการ์ด โดยทั่วไปแล้ว วีซ่าเค วัน ( รู้จักกันในชื่อวีซ่าคู่หมั้น ) เป็นวีซ่าที่เหมาะกับวัตถุประสงค์นี้ที่สุด อย่างไรก็ดีบางคนเลือกที่จะขอวีซ่าท่องเที่ยวอเมริกาเนื่องจากวีซ่าคู่หมั้นใช้เวลานานประมาณ 6-7 เดือน ในขณะที่วีซ่าท่องเที่ยวใช้เวลาสองถึงสาม สัปดาห์เท่านั้น การถูกปฏิเสธที่ด่านคนเข้าเมืองขณะจะเข้าเมืองทำให้เสี่ยงต่อการถูกส่งตัวกลับและยังต้องเสียเงินไปกับการขอวีซ่าและค่าเดินทางแต่กลับเข้าประเทศไม่ได้ การถูกกันตัวออกจากประเทศสหรัฐอเมริกาอาจส่งผลให้ถูกแบนไม่ให้เข้าเมืองในคราวต่อไปได้ ได้หากว่าเจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองเห็นว่าการเข้าประเทศเป็นไปโดยจงใจให้เจตนาเท็จแก่เจ้าหน้าที่ ในกรณีเช่นว่านี้จะต้องขอละเว้นโทษเท่านั้น ซึ่งเรียกว่า I601 waiver

การถูกปฏิเสธไม่ให้เข้าเมืองไม่ทำให้ถุกส่งตัวกลับทันที เจ้าหน้าที่ตรวจคนเข้าเมืองมีอำนาจดุลพินิจที่จะอนุญาตให้คนต่างด้าวถอนคำขอเข้าประเทศได้และออกจากประเทศโดยเสียค่าใช้จ่ายด้วยตนเอง แต่การใช้วีซ่าชั่วคราวโดยไม่ถูกต้องทำให้เกิดความเสี่ยงในกาลต่อมาที่จะถูกส่งตัวออกนอกประเทศและคนที่กำลังหาลู่ทางไปสหรัฐอเมริกาสก็ควรจะจำเรื่องนี้ใส่ใจไว้เมื่อศึกษาเกี่ยวกับกฎหมายคนเข้าเมืองสหรัฐ

more Comments: 04

25th April 2010

ในกระทู้ก่อนๆผู้เขียนได้กล่าวถึง การยื่นแบบ I-130 เพื่อขอวีซ่าอเมริกาสำหรับญาติสนิท สำหรับผู้ที่พำนักอาศัยอยู่ในประเทศที่ไม่มีสำนักงานของ USCIS ก็อาจจะยื่นคำขอต่อกงสุลโดยตรงโดยใช้วิธีการ Direct Consular Filing อย่างไรก็ตาม สำหรับในประเทศที่มีสำนักงาน USCIS อยู่ ผู้ยื่นก็จำเป็นต้องยื่นเรื่องต่อสำนักงาน USCIS โดยตรง โดยมีข้อแม้ว่าจะต้องมีคุณสมบัติคือมีถิ่นที่อยู่ในเขตอำนาจของสำนักงานนั้นๆ นั่นหมายความว่า บางคนเข้าใจผิดๆว่าผู้ยื่นและผู้รับผลประโยชน์เท่านั้นจึงจะยื่นคำขอได้ ซึ่งไม่ใช่เสียทีเดียว

มาตรา 8 CFR 292.1 กล่าวว่า :

(เอ) บุคคลที่สามารถมีตัวแทน ( ต่อ USCIS ) อาจจะใช้ตัวแทนยื่นเรื่องได้ ดังนี้

(1) ทนายความในสหรัฐอเมริกา ทนายความคนใดตามมาตรา 1.1(f) แห่งหมวดนี้

มาตรา 1.1(f) ที่อ้างไว้ข้างต้นกล่าวว่า

คำว่าทนายความหมายถึงบุคคลใดๆที่เป็นสมาชิกแห่งเนติบัณฑิตยสภาของศาลสูงสุดในมลรัฐใดๆ เขตแดน รัฐอาณานิคม คอมมอนเวลท์ หรือ เขตโคลัมเบีย และไม่อยู่ภายใต้คำสั่งศาลจำกัดอำนาจ ห้าม กัน ถอนใบอนุญาติ หรืออื่นๆอันเป็นการจำกัดมิให้ผู้นั้นประกอบอาชีพกฎหมาย

ในทางปฏิบัติ หมายความว่า ทนายความที่มีใบอนุญาติในสหรัฐอเมริกา สามารถเป็นตัวแทนลูกความต่อ USCIS ได้ ไม่มีข้อจำกัดด้านถิ่นที่อยู่สำหรับสิทธิในข้อนี้ ดังนั้น ผู้ที่ต้องการยื่นแบบ I -130 ที่สำนักงานท้องถิ่น สามารถจ้างทนายทำการแทนได้ตามกฎหมาย

วิธีการนี้เป็นประโยชน์ต่อผู้ที่ไม่ต้องการจะดำเนินการกับขั้นตอนการยื่นเรื่อง เนื่องจากเมื่อทนายความมีสิทธิ์ทำการแทนตัวความเกี่ยวกับคำขอ IR1 และ CR1 ในประเทศไทย ผู้ยื่นและผู้รับผลประโยชน์ก็เพียงเตรียมเอกสารที่จำเป็นแก่ทนายความและทนายความก็จะเป็นผู้ดำเนินการต่อเองในนามของผู้ยื่น ในบางกรณี USCIS กำหนดให้ ผู้ยื่นและผู้รับผลประโยชน์มาปรากฏตัวต่อหน้าสำหรับเรื่องที่อยู่ระหว่างดำเนินการ หากมีกรณีเช่นว่า ผู้ยื่นและผู้รับผลประโยชน์ก็สามารถให้ทนายความดำเนินการเข้าพบกับเจ้าหน้าที่ USCIS แทนได้

more Comments: 04

24th April 2010

Many Americans are aware of the recent legislative changes enacted by the United States Congress with the support of President Obama. Recently, a blogger discussed this legislation:

“Having now accomplished Health Care Reform, it is apparent that President Obama has acquired the momentum and political capital to fuel the leadership necessary to fulfill the next campaign promise, that of  immigration reform.  Why then are our congressional leaders still asserting impossible?”

What is this so-called “impossible” legislative task that this writer is concerned about? Put simply, it is equal immigration rights for those bi-national couples of the same sex. Recently, Congressional Representative Gutierrez introduced a Comprehensive Immigration Reform bill, but many in the LGBT immigration community are unhappy with the Bill in its current form:

“Rep Gutierrez’s Bill, however, snubbed gay and lesbian couples, much to the upset of the LGBT community and bi-national same-sex couples, by failing to attach UAFA, the Uniting American Families Act, H.R. 1024, S. 424) a U.S.Immigration and Nationality Act to eliminate discrimination in the immigration laws against gay couples seeking spousal/ partner sponsorship for green cards,  as a critical component to his version of comprehensive immigration reform.  Is he thinking that we should not have immigration equality?  Is he going to attach UAFA later in the process? Does he think UAFA should be a stand-alone Bill.”

UAFA, or the Uniting American Families Act, is an important piece of hotly debated legislation in the United States that, if enacted, would provide immigration benefits to the same sex “permanent partners” of American Citizens and Lawful Permanent Residents. US Congressman Jerrold Nadler has be a strong proponent of UAFA and immigration rights for the “permanent partners” of American Citizens and Lawful Permanent Residents. Exactly what the term “permanent partner” means is left open to further debate, but presently a debate is raging over placing the provisions of UAFA into a Comprehensive Immigration Reform Bill:

“Nadler asserted that this would be the only way – for UAFA to pass- and that would be via passage with a larger immigration reform bill.  The votes would need to be 217 in the House and at least 51 in the Senate.  Congressman Nadler has led the fight for UAFA and is highly respected by activists and the LGBT community, reputed to be one of the most dedicated in the fight for immigration equality.  His ideas are to be trusted and his leadership followed.”

If Representative Nadler believes that same sex visas for bi-national permanent partners will ultimately come to fruition through use of a broader legislative vehicle, then this author is inclined to believe that this is the truth. However, when that broader legislative action will come about remains to be seen.

more Comments: 04

23rd April 2010

For information in English please see: I-212.

สำหรับผู้ที่เข้าประเทศสหรัฐอเมริกา ด้วยวีซ่าชั่วคราว มักจะต้องมีเจตนาไม่ต้องการอพยพเป็นหลัก หมายความว่า ผู้ที่เข้าประเทศจะต้องตั้งใจว่าจะอยู่ในสหรัฐอเมริกาเป็นการชั่วคราว และไม่มีเจตนาจะลงหลักปักฐานในสหรัฐอเมริกาเป็นการถาวร สหรัฐอเมริกากำหนดให้ต้องมีเจตนาไม่อพยพทั้งกับวีซ่าท่องเที่ยว วีซ่านักเรียน และวีซ่าแลกเปลี่ยน สำหรับแต่ละประเภท ผู้ที่จะเข้าประเทศอาจโดนปฏิเสธวีซ่าตั้งแต่ที่สถานทูต หรือที่ด่านคนเข้าเมืองที่สหรัฐอเมริกาก็ได้ และเนื่องจากความเสี่ยงที่จะโดนปฏิเสธ จึงแนะนำให้ยื่นขอวีซ่าให้ตรงกับเจตนาในการเข้าเมืองของคุณ

ในทางกลับกัน คงจะไม่ดีหากจะขอวีซ่าถาวรหากว่าคู่สมรสมีไม่มีเจตนาที่จะย้ายถิ่นฐานไปสหรัฐอเมริกา ในกรณีเช่นนี้ เจตนาอาจจะเป็นเรื่องที่พิสูจน์ยาก แต่ก็ยังแนะนำให้มีเจตนาที่แท้จริงในการที่จะพำนักอาศัยอยู่ที่สหรัฐเมริกาจะดีกว่า

แต่แม้จะมีปัญหาสองอย่างที่กล่าวมาข้างต้น ก็ยังคงมีทางสายกลาง ให้คุณเลือก ทางสายกลางที่ว่าก็คือทฤษฎีสองเจตนา ทฤษฎีนี้มาจากความคิดที่ว่ามีหลายๆกรณีที่วีซ่าสหรัฐอนุญาติให้คนต่างด้าวอยู่ในสหรัฐอเมริกาเป็นการชั่วคราวในขณะที่มีเจตนาอพยพ ทฤษฎีนี้มาจากความจำเป็นที่เกิดจากกรณีคนต่างด้าวเข้ามาอยู่อาศัยและทำงานในสหรัฐอเมริกาด้วยวีซ่าชั่วคราวและอยากได้กรีนการ์ด หน่วยงานคนเข้าเมืองของสหรํฐเข้าในดีว่ากรณีเช่นนี้ในบางกรณีสมควรได้รับการยอมรับและส่งเสริม

ตัวอย่างของการมองหาประเภทวีซ่าที่เหมาะกับตนเองอีกอย่างหนึ่งคือ กรณีวีซ่า เค วัน วีซ่าคู่หมั้น ซึ่งเป็นวีซ่าไม่ถาวร แต่คนต่างด้าวเข้าสหรัฐอเมริกาเพื่อไปอยู่กับคู่หมั้น เพื่อแต่งงาน และปรับเปลี่ยนสถานภาพเป็นผู้ถือกรีนการ์ดตามลำดับ ดังนั้น วีซ่าเค วัน จึงเป็นวีซ่าที่มีสองเจตนา ซึ่งอนุญาตให้อยู่ชั่วคราวได้ 90 วัน แต่ให้โอกาสในการขอกรีนการ์ด

นอกจากนี้ วีซ่า เค ทรี เป็นวีซ่าที่มีสองเจตนาเช่นกัน เนื่องจากโดยพื้นฐานแล้วเป็นวีซ่าไม่ถาวร แต่เมื่อเข้าประเทศสหรัฐอเมริกาได้ ผู้ถือวีซ่าจะต้องปรับเปลี่ยนสถานภาพ เนื่องจากวีซ่าเค ทรี ไม่ใช่กรีนการ์ด การใช้วีซ่าเค ทรี เข้าออกสหรัฐได้ถูกยกเลิกไปเมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมาเนื่องจาก ระยะเวลาขอวีซ่าถาวรลดลง ในขณะที่ระยะเวล่าขอวีซ่า เค ทรี เพิ่มขึ้นเล็กน้อย

วีซ่า แอล วัน และ เอช วัน บี สำหรับผู้ทำงาน เป็นอีกตัวอย่างของวีซ่าชั่วคราวที่ให้มีสองเจตนาได้ แม้ว่าวีซ่าประเภทเหล่านี้เป็นไปโดยพื้นฐานการจ้างงาน

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม โปรดดู  วีซ่าอเมริกา

more Comments: 04

21st April 2010

For information in English please see: National Visa Center.

NVC คืออะไร?

กระบวนการขอรับผลประโยชน์จากการเข้าเมืองของสหรัฐอเมริกาอาจจะยุ่งยากเป็นบางครั้ง แต่โดยภาพรวมแล้วหากว่าเข้าใจขั้นตอนหรือมีการจ้างทนายความผู้มีประสบการณ์ก็อาจจะทำให้ง่ายขึ้น

คำถามที่พบบ่อยๆเกี่ยวกับกระบวนการขอวีซ่าก็คือ NVC คืออะไรและมีหน้าที่อะไร NVC ย่อมาจากศูนย์วีซ่าแห่งชาติ ซึ่งเป็นหน่วยงานรัฐภายใต้อำนาจของกระทรวงต่างประเทศสหรัฐอเมริกา NVC มีสำนักงานอยู่ที่ Portsmouth มลรัฐ New Hampshire อำนาจของ NVC คือการดำเนินการคำขอวีซ่าและทำให้แน่ใจว่าคำขอวีซ่าจะถูกส่งต่อไปยังหน่วยงานที่อยู่ในพื้นที่ผู้รับผลประโยชน์มีภูมิลำเนาอยู่

NVC ยังรับผิดชอบในการรวบรวมค่าธรรมเนียมวีซ่าถาวร และเอกสารสำคัญที่จำเป็นต้อเจ้าหน้าที่กงสุลในการพิจารณาคำขอ

กระบวรการดำเนินการของ NVC วีซ่าไม่ถาวรและวีซ่าถาวร

การดำเนินการของ NVC นั้นยุ่งยากและใช้เวลาค่อนข้างมากกว่าสำหรับวีซ่าถาวร ซึ่งตรงข้ามกับวีซ่าไม่ถาวร กิจกรรมหนึ่งที่ NVC ทำบ่อยๆก็คือการตรวจสอบด้านความมั่นคงและตรวจสอบภูมิหลังของผู้ที่มีความประสงค์จะเข้าประเทศสหรัฐอเมริกา หลังจากเหตุการณ์ 11 กันยายน 2544 NVC ได้มีบทบาทสำคัญเพื่อทำให้มั่นใจว่าบุคคลเหล่านั้นจะไม่เป็นภัยต่อความมั่นคงของประเทศสหรัฐอเมริกา

NVC นั้นบางครั้งถูกเข้าใจสับสนกับ NBC หรือ ศูนย์ผลประโยชน์แห่งชาติซึ่งได้รับมอบหมายจาก USCIS ให้จัดการเกี่ยวกับเอกสารก่อนสัมภาษณ์สำหรับการสัมภาษณ์คนเข้าเมืองในประเทศสหรัฐอเมริกา

สำหรับคนที่ต้องการนำคู่หมั้นชาวไทยไปอเมริกาโดยวีซ่า K1 ขั้นตอน NVC มักจะเร็วกว่าผู้ขอวีซ่าอพยพ ซึ่งก็เป็นจริงสำหรับกรณีวีซ่า K3 จากประเทศไทยที่ยื่นคำขอเพิ่มเติม I129F ในกรณีใดๆก็ตาม เมื่อวีซ่าได้รับการอนุมัติจาก USCIS มันจะถูกส่งต่อไปยัง NVC และ เมื่อได้รับอนุมัติคำขอจะถูกส่งไปยังสถานทูตสหรัฐอเมริกาหรือสถานกงสุลใหญ่

ขึ้นอยู่กับจำนวนเรื่องที่ NVC กระบวนการอาจจะใช้เวลาจาก 2 ถึง 8 สัปดาห์ ในการดำเนินการและส่งต่อเรื่องไปยังสถานทูตในต่างประเทศ อย่างไรก็ตามนี่ก็เป็นแค่ระยะเวลาโดยเฉลี่ยเท่านั้น ระยะเวลาในการดำเนินการสำหรับหน่วยงานของสหรัฐก็มักจะต่างกันไป

เมื่อยื่นคำขอที่ USCIS ในกรุงเทพมหานคร NVC จะไม่เข้ามามีส่วนในขั้นตอนใดๆเนื่องจากคำขอจะถูกส่งตรงไปยังสถานทูตอเมริกาประจำกรุงเทพมหานครซึ่งอยู่ฝั่งตรงข้ามทันที

more Comments: 04

20th April 2010

In previous posts this author has discussed the I-130 petition for an immediate relative for a visa to the United States of America. For those present in countries that do not have an office of the United States Citizenship and Immigration Service (USCIS) it may be possible to file such a petition directly with the Consulate by utilizing a method known as Direct Consular Filing. However, in a country where an overseas office of USCIS is located it is incumbent upon to petitioner to file at the local USCIS office, provided he or she meets the residence requirements for the office to take jurisdiction. That being said, many are under the mistaken impression that only the petitioner and beneficiary, together, can submit an application. This is not necessarily the case.

8 CFR 292.1 states:

(a) A person entitled to representation [before USCIS] may be represented by any of the following:

(1) Attorneys in the United States. Any attorney as defined in §1.1(f) of this chapter.

Section 1.1(f), referenced above states:

“The term attorney means any person who is a member in good standing of the bar of the highest court of any State, possession, territory, Commonwealth, or the District of Columbia, and is not under any order of any court suspending, enjoining, restraining, disbarring, or otherwise restricting him in the practice of law.”

In practical terms, this means that a licensed attorney in the United States is entitled to represent clients before the United States Citizenship and Immigration Service. There is no geographical restriction placed upon this right. Therefore, those wishing to file an I-130 to travel to the United States are entitled, as a matter of law, to attorney representation.

This can provide a real boon to those who do not wish to deal with the petition submission process. Since an attorney in entitled to act on behalf of clients in matters involving petitions for the IR1 visa and the CR1 visa in Thailand, the Petitioner and Beneficiary need simply provide required documents to their attorney and the attorney can file the petition on their behalf. In some limited cases, USCIS officers require that a Petitioner or Beneficiary appear in person regarding a pending case. Should this situation arise, the Petitioner or Beneficiary is entitled to have their attorney present for such a meeting with USCIS officers.

Unfortunately, in Thailand there are many agencies and “fly by night” operations claiming to have the right and expertise to assist in visa matters. However, many of these so-called “lawyers” are not licensed to practice law in the United States, nor in any other jurisdiction. Therefore, they cannot present an I-130 submission on behalf of another. In a way, an I-130 local filing is a “litmus test” of whether or not an individual is really an American attorney. If a so-called “attorney” requires the Petitioner and/or Beneficiary to file the I-130 personally and the so-called “attorney” is unwilling to appear personally, then this may be a sign that they are an unlicensed operator and should be avoided.

For further information please see US Visa Thailand. For further information regarding USCIS local jurisdiction please see: USCIS Bangkok.

more Comments: 04

19th April 2010

สำหรับผู้ที่กำลังหาข้อมูลเกี่ยวกับเอกสารวีซ่าอเมริกาที่เรียกว่า Notice of Action 2 ซึ่งถูกกล่าวถึงบ่อยในกรณีที่เกี่ยวกับคำขอวีซ่าคู่สมรสและวีซ่าคู่หมั้น กะทู้นี้จะอธิบายว่า Notice of Action 2 คืออะไร และมีความหมายอย่างไรกับคำขอวีซ่าที่อยู่ระหว่างพิจารณา

เมื่อยื่นคำขอวีซ่า เอกสารตอบรับฉบับแรกที่ได้รับจาก USCIS คือใบรับเรียกว่า Notice of Action 1 ( NOA 1 ) เพื่อเป็นการแจ้งแก่ผู้ยื่นขอวีซ่าว่า USCIS ได้รับคำขอวีซ่าแล้ว มีบางกรณีที่เจ้าหน้าที่ผู้พิจารณาเรื่องเห็นว่าต้องมีการยื่นหลักฐานเพิ่มเติมก่อนที่เรื่องจะได้รับการพิจารณา ในกรณีเช่นว่านี้ คำขอหลักฐาน ( รู้จักกันในชื่อ RFE ) จะถูกส่งไปยังผู้ยื่นขอวีซ่า อย่างไรก็ตาม ในกรณีส่วนใหญ่ หลักฐานเพิ่มเติมก็ไม่มีความจำเป็นและหากว่าคำขอวีซ่าได้รับการอนุมัติแล้ว Notice of Action 2 ก็จะถูกส่งไปยังผู้ยื่นขอวีซ่า ถ้าคำขอวีซ่าถูกปฏิเสธ ก็จะมีการส่งหนังสือแจ้งไปยังผู้ยื่นเช่นกัน

แม้ว่าจะไม่ค่อยเกิดขึ้นซักเท่าไหร่สำหรับคำขอวีซ่าครอบครัว การปฏิเสธของ USCIS ก็สามารถเกิดขึ้นได้ การปฏิเสธมักเป็นผลมาจากการที่คำร้องนั้นไม่แสดงให้เห็นความสัมพันธ์อันแท้จริงระหว่างผู้ยื่นและผู้รับผลประโยชน์ในขณะที่ยื่น หรือในอีกกรณีคือการที่ยิ่นขอวีซ่าผิดประเภท การสมรสตามประเพณีไทยก็เป็นอีกสาเหตุหนึ่งที่ทำให้เข้าใจทางเลือกในการขอวีซ่าอพยพเมริกาได้อย่างผิดๆ ในประเทศไทย หากว่าการสมรสนั้นมิได้เป็นการจดทะเบียน ณ สำนักทะเบียนอำเภอ ก็ถือว่ามิได้เป็นการสมรสโดยถูกต้องตามกฎหมายในสายตาของ หน่วยงานคนเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาและไม่ถือว่าเป็นเหตุที่ทำให้สามารถขอวีซ่าอพยพเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาได้

ดังนั้น หากว่าคู่รักที่ได้สมรสกันอย่างไม่เป็นทางการยื่นขอวีซ่า IR 1, CR 1 หรือ K3 คำขอก็จะถูกปฏิเสธเพราะว่ามีคุณสมบัติไม่เพียงพอในการออกวีซ่าให้ อย่างไรก็ตามสำหรับคู่รักในกรณีเหล่านี้ คุณสามารถขอวีซ่า K1 ได้

หลังจากที่ USCIS ออก Notice of Action 2 ให้ คำขอจะถูกส่งต่อไปยัง National Visa Center ในกรณีที่เกี่ยวกับวีซ่าอพยพถาวร NVC จะดึงเรื่องไว้นานพอสมควร อย่างไรก็ตาม หากเป็นกรณี ของวีซ่า K1 NVC จะไม่ดึงเรื่องเอาไว้นานสักเท่าไหร่ แต่จะดำเนินการตรวจสอบทางความมั่นคงและส่งต่อเรื่องไปยังสถานทูตสหรัฐอเมริกา ในกรณีคู่หมั้นชาวไทย จะมีการส่งเรื่องไปยังสถานทูตสหรับอเมริกาประจำกรุงเทพมหานคร กงสุลใหญ่ ประจำเชียงใหม่ จะไม่ดำเนินการวีซ่าอพยพถาวร

more Comments: 04

The hiring of a lawyer is an important decision that should not be based solely on advertisement. Before you decide, ask us to send you free written information about our qualifications and experience. The information presented on this site should not be construed to be formal legal advice nor the formation of a lawyer/client relationship.