blog-hdr.gif

Integrity Legal

Posts Tagged ‘I601 waiver Thailand’

21st May 2010

To see this information in English please see: US visa denial

อย่างที่ผู้เขียนได้เคยพูดไว้ในกระทู้ก่อนๆ เหตุผลหลักๆที่ทำให้วีซ่าอเมริกาถูกปฏิเสธขึ้นอยู่กับเหตุที่ทำให้ไม่สามารถเข้าเมืองได้ ในเคสนั้นๆ เหตุหนึ่งก็คือ เจ้าหน้าที่กงสุลพบว่าผู้ขอวีซ่าทำความผิดทางอาญาเกี่ยวกับศีลธรรม ( CIMT ) นั่นหมายความว่า บางครั้งก็เป็นเรื่องยากที่จะวินิจฉัยว่าความผิดที่ผู้ขอวีซ่ากระทำนั้นเป็นความผิดทางอาญาเกี่ยวกับศีลธรรมหรือไม่ คู่มือทางกิจการต่างประเทศกล่าวถึงลักษณะของความผิดที่เป็นความผิดเกี่ยวกับศีลธรรมเอาไว้ ด้านล่างคือข้อความบางส่วนที่ตัดตอนมา

ข้อ9 คู่มือทางกิจการต่างประเทศ 40.21(a) N 2.3-1 ความผิดต่อทรัพย์สิน

( CT. VISA-1318;09-24-2009 )

เอ. ความผิดทางอาญาส่วนใหญ่ที่ถือว่าเกี่ยวข้องกับศีลธรรมอันเป็นความผิดต่อทรัพย์สินได้แก่ ฉ้อโกง การกระทำความผิดฐานฉ้อโกงถือเป็นความผิดต่อศีลธรรมไม่ว่าจะเป็นการกระทำต่อบุคคลหรือความผิดต่อแผ่นดิน ความผิดฐานฉ้อโกง โดยทั่วไป

เกี่ยวกับ

(1) ทำให้บุคคลอื่นหลงเข้าใจผิด

(2) รู้ถึงข้อความที่หลอกลวงซึ่งทำขึ้นโดยตัวผู้ก่อการ

(3) เชื่อถือในสิ่งที่แสดงให้เข้าใจผิดโดยบุคคลที่ถูกหลอก

(4) เจตนาหลอกลวง และ

(5) การกระทำการฉ้อโกง

ความผิดต่อทรัพย์สินไม่เพียงเป็นความผิดทางอาญาเกี่ยวเนื่องด้วยศีลธรรมชนิดเดียวแต่ความผิดต่อเจ้าหน้าที่รัฐก็ถือเป็นความผิดทางอาญาที่เกี่ยวกับศีลธรรมด้วย

ข้อ9 คู่มือทางกิจการต่างประเทศ 40.21(a) N 2.3-2 ความผิดต่อการเจ้าหน้าที่รัฐ

( CT: VISA-1318; 09-24-2009 )

เอ. ความผิดต่อเจ้าหน้าที่รัฐที่เข้ากับนิยามความผิดทางศีลธรรมได้แก่:

(1) การติดสินบน

(2) ปลอมเอกสาร

(3) ฉ้อโกงกรมสรรพากร หรือหน่วยงานราชการอื่น

(4) ฉ้อฉลทางเอกสาร

(5) ให้การเท็จ

(6) ให้ที่พักพิงแก่ผู้ร้ายหลบหนี ( โดยทราบความผิด ) และ

(7) เลี่ยงภาษี ( โดยมีเจตนา )

คู่มือทางกิจการต่างประเทศได้กล่าวถึงกิจกรรมอีกหลายๆลักษณะที่อาจไม่ถือเป็นความผิดทางอาญาเกี่ยวกับศีลธรรม เป็นหน้าที่ของเจ้าหน้าที่ที่พิจารณาเรื่องในการตัดสินข้อเท็จจริงของคดีและตัดสินว่าการกระทำดังกล่าวเป็นความผิดทางอาญาเกี่ยวเนื่องกับศีลธรรมหรือไม่ หากว่าได้กระทำความผิดจริง ก็จะต้องถูกปฏิเสธวีซ่า  ภายใต้ทฤษฎีอำนาจที่ห้ามตรวจสอบของกงสุล ( รู้จักกันในชื่อ อำนาจเด็ดขาดของกงสุล ) คำตัดสินนี้ไม่สามารถอุทธรณ์ได้ อย่างไรก็ตาม ผู้ยื่นขอวีซ่าสามารถแก้ไขปัญหาวีซ่าถูกปฏิเสธได้โดยยื่นขออภัยโทษแบบ I-601

เพื่อประโยชน์ของบางคน มีคำพิพากษาของ ศาลภาค กล่าวว่า

“คำสั่งส่งตัวออกนอกสหรัฐอเมริกาที่มีต่อ ผู้ร้อง อาร์มานโด อัลวาเรซ เรย์นากาเนื่องจากกระทำความผิดอาญาฐานรับยานพาหนะที่ขโมยมา มีความผิดตามมาตรา 496d(a) ตามประมวลกฎหมายอาญาแคลิฟอร์เนีย คำร้องของเขาขอให้พิจาณาใหม่ว่าความผิดทางอาชญากรรมที่กระทำลงนั้น เป็นความผิดตามศีลธรรมหรือไม่ เราสรุปได้ว่าเป็นความผิดฐานอาชญากรรมแต่ไม่ใช่อาชญากรรมเกี่ยวกับศีลธรรม เราปฏิเสธคำร้องขอพิจารณาใหม่”

เมื่อกฎหมายเปลี่ยนแปลงไป นิยามของความผิดทางอาญาเกี่ยวกับศีลธรรมและกิจกรรมที่อยู่ภายใต้ข้อกำหนดของความผิดอาญาทางศีลธรรมตามพระราชบัญญัติคนเข้าเมืองและสัญชาติก็เปลี่ยนแปลงไปด้วย

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมสำหรับวีซ่าอเมริกาจากประเทศไทย โปรดดู วีซ่าอเมริกาประเทศไทย

more Comments: 04

6th March 2010

Since the recent worldwide economic downturn the global tourism industry has suffered a great deal. Much can be attributed to the fact that people have less disposable income, but others are of the opinion that increased promotion may be the key to dealing with this issue. In the United States, the government and business leaders have devised a plan to promote more travel to the USA. To quote a recent posting on CNN’s website:

“President Obama signed legislation into law Thursday to create the United States’ first national travel promotion program…The act will create a nonprofit Corporation for Travel Promotion that will promote the United States as a travel destination and explain travel and security policies to international visitors…”

One aspect of the new program that is stirring up some resentment is the addition of a $10 fee that much be paid by those wishing to enter the United States on the visa waiver program (not to be confused with an I-601 waiver of inadmissibility):

“A $10 fee charged to visitors from countries included in the Visa Waiver Program will partially fund the public-private organization. These visitors will pay the fee every two years when they register online using the Department of Homeland Security’s Electronic System for Travel Authorization…”

As readers may recall, The Electronic System For Travel Authorization (ESTA) is used by those who wish to seek entry into the USA on a visa waiver. This system pre-screens foreign entrants for security purposes. As mentioned previously, tourism around the world is declining, but this program may provide stimulus to this sector of the US economy:

“Despite strong global growth in long-haul international travel between 2000 and 2008, the U.S. welcomed 633,000 fewer overseas visitors in 2008 than it did in 2000, according to figures from the U.S. Department of Commerce. Oxford Economics, an economic consulting and forecasting company, estimates a well-executed promotional program would draw 1.6 million new international visitors annually and generate $4 billion in new visitor spending.”

It remains to be seen how this program will work, but certainly encouragement of tourism is necessary. However, some have questioned how requiring a new fee for travel to the United States will encourage tourism. This is certainly a valid point as increased restrictions on travel for so-called “visa waiver countries” may be one of the reasons behind decreased tourism. There are those who have called ESTA a new type of visa and now that there is a charge for the service it is beginning to become a sort of online visa. That being said, balancing security and economic concerns is difficult.

This new law will likely have very little impact for those from Thailand as Thai nationals do not enjoy “visa waiver” privileges. For this reason Thai nationals must apply for a US tourist visa if they wish to enter the US for recreational purposes. Further, Thais wishing to travel to the US to be with a fiance or spouse must apply for either a K1 visa or a US marriage visa before they will be able to be lawfully admitted.

more Comments: 04

The hiring of a lawyer is an important decision that should not be based solely on advertisement. Before you decide, ask us to send you free written information about our qualifications and experience. The information presented on this site should not be construed to be formal legal advice nor the formation of a lawyer/client relationship.