blog-hdr.gif

Integrity Legal

Archive for May, 2010

11th May 2010

ในเคสที่วีซ่าถูกปฏิเสธ ก็อาจจะหาทางแก้โดยการยื่นขออภัยโทษได้หากว่าการปฏิเสธเกิดจากการมีเหตุที่ทำให้ไม่สามารถเข้าเมืองได้ การขออภัยโทษแบบนี้ เราเรียกว่า I-601 ครั้งหนึ่งหากว่าผู้ขอวีซ่ามีเชื้อ HIV ก็จะถูกปฏิเสธวีซ่าด้วยเหตุนี้เหตุเดียวหากว่าไม่มีเหตุอื่นที่พบอีก อย่างไรก็ตามเร็มๆนี้หน่วยงานคนเข้าเมืองสหรัฐได้เปลี่ยนกฏใหม่ ตามประกาศของ สมาคมนักกฎหมายคนเข้าเมืองอเมริกัน (AILA) :

“ การติดเชื้อ HIV ไม่ใช่เหตุที่ทำให้ไม่สามารถเข้าเมืองได้อีกต่อไป หากคุณติดเชื้อ HIV ก็ไม่จำเป็นต้องยื่นขออภัยโทษ I-601 เพราะเหตุที่คุณป่วยด้วยเชื้อ HIV อีกต่อไป จากข้อสังเกตุ ในแบบ I-601 มีการลบวิธีการดำเนินการและข้อความใดๆเกี่ยวกับการติดเชื้อ HIV ออกไปแล้ว”

นี่ไม่ใช้กฎข้อเดียวที่มีการเปลี่ยนแปลง เนื่องจากวิธีการยื่นขออภัยโทษเองก็เปลี่ยนแปลงไปด้วยเพื่อให้มีความแม่นยำในเรื่องของภูมิลำเนาที่ยื่นเช่นเดียวกับการปรับเปลี่ยนกฎเกณฑ์อื่นๆ

“นอกจากนี้ USCIS ได้ประกาศว่ามีการปรับเปลี่ยนวิธีการยื่น และที่อยู่ที่จะต้องยื่นแบบ I-601 การเปลี่ยนสถานที่ยื่นแบบเป็นส่วนหนึ่งของความพยายามที่จะทำให้เกิดประโยชน์ของสำนักงาน USCIS ท้องถิ่นและ หน่วยรับเรื่องของ USCIS โดยรวมที่ยื่นแบบและจ่ายค่าธรรมเนียมให้อยู่ที่ หน่วยรับเรื่องหน่วยเดียวเพื่อให้ USCIS สามารถให้บริการประชาชนได้อย่างมีประสิทธิภาพในเรื่องของแบบคำร้องและค่าธรรมเนียม ”

วิธีการใช้ศูนย์รับเรื่องนี้ใช้กับกรณียื่นวีซ่าถาวร เช่น IR1 และ CR1 ซึ่งเปิดโอกาศให้ USCIS เตรียมระบบการจัดการกับคำขอวีซ่าได้เนื่องจากมันถูกส่งไปที่สถานที่ๆเดียว อย่างไรก็ดี วีซ่า K1 และ K3 จะต้องยื่นแก่ ศูนย์ USCIS ที่มีเขตอำนาจเท่านั้น

ในกรณีที่ แบบ I-601 นั้นยื่นในต่างประเทศ คำร้องมักถูกยื่นผ่าน สถานทูตหรือกงสุลสหรัฐอเมริกาที่วีซ่าถูกปฏิเสธ ซึ่งนี่เปิดโอกาสให้เจ้าหน้าที่กงสุลทำความเห็นเกี่ยวกับคำร้องได้ ผู้ที่สนใจจะยื่นคำร้องขออภัยโทษโปรดจำไว้ว่าทนายความสหรัฐอเมริกาที่มีใบอนุญาติ หรือตัวแทนที่มีใบอนุญาติเท่านั้นที่สถานทูตสหรัฐและ USCIS ยอมให้เป็นตัวแทนของเจ้าของเรื่องในการติดต่อได้ นั่นหมายความว่า จะต้องเป็นทนายเท่านั้นจึงจะสามารถเรียกค่าธรรมเนียมเพื่อการยื่นคำร้องนี้ได้ และหน่วยงานที่เป็นตัวแทนที่ได้รับอนุญาติส่วนใหญ่ที่กระทำการแทนได้ก็มักเป็นหน่วยงานไม่หวังผลประโยชน์ที่เพียงเก็บค่าการเป็นตัวแทน ( ถ้าหากว่าจะมีการเรียกเก็บ ) เมื่อให้ความช่วยเหลือแก่ผู้อพยพ บุคคลที่ไม่มีใบอนุญาติให้เป็นตัวแทนลูกความในกระบวนการคนเข้าเมืองไม่สามารถเรียกค่าธรรมเนียมเพื่อเป็นตัวแทนได้ตามกฎหมายสหรัฐอเมริกา สำหรับข้อมูลเพิ่มเติม คลิกที่นี่

more Comments: 04

10th May 2010

In a recent posting on the popular website Thaivisa.com it was noted that the United States of America has honored an extradition request from Thai authorities that a suspect in a “drug gang” be extradited to the Kingdom of Thailand. The following is quoted from ThaiVisa.com:

BANGKOK: — Suwit “Cheng” Prasoprat, a member of the China-based “14K” drug gang, was handed over to Thai authorities on Sunday, nine years after a request for his extradition was filed, deputy attorney-general Thavorn Panichpan said yesterday.

Thavorn said members of the drug gang fled overseas after police investigators filed a case in February 2001 against Thaveewit Krairattanareuk, 46, plus Suwit and four others for having 3.6 tonnes of heroin destined for the US, and the attorney-general agreed to prosecute the gang.

Once it was discovered that Suwit was lying low in the US, Thai authorities filed an extradition request in March 2001, which was approved by an American court. However, Suwit appealed against the extradition in 2002, and though the Appeal Court upheld the lower court ruling, he appealed again to the Supreme Court. On April 19 this year, the US authorities notified Thailand that the extradition request had finally been approved and Suwit arrived in Bangkok on Sunday.

Lawyer Rewat Chanprasert said they previously extradited Boonsong Mekpongsathorn, 60, another suspect in the same case who also fled to the US.

Boonsong had been given the death sentence by the Thon Buri Criminal Court in January 2005, and the case was now with the Appeal Court. Thaveewit and another suspect, Komsak Kornjamrassakul, 50, were given life sentences in June 2001 and are now appealing their jail terms.

Narcotics Suppression Bureau chief Pol Lt-General Adithep Panjamanont said court permission would be sought to detain Suwit for a week pending further investigation, before the case was handed to prosecutors. He said the case stemmed from an arrest in 1998 over the possession of 126 kg of heroin on its way to the United States.

Police inquiries showed that Suwit, a Thai man with two nationalities and an address in the US, plus accomplices in China and Hong Kong known as the 14K gang, had carried out criminal activities in Thailand including arms deals, human trafficking and drug dealing.

Thai and US authorities worked together on the case until they had enough evidence for arrest warrants for Suwit and Boonsong in 2001, he said.

Adithep added that the police would extend the investigation to cover money-laundering and other criminal charges on Thai soil against Suwit, his accomplices and the 14K gang.

It was also reported that there are two other suspects in the same case – Suchat Rakraeng, who remains at large, and Kriengkrai Diewtrakul, who is in a Chiang Rai prison for another crime.

In an increasingly “globalized” world, cross-jurisdictional cooperation is becoming evermore commonplace. In the scenario described above, it is interesting to note that the subject is being extradited back to Thailand. There are some who speculate that as Thai authorities connect their computer systems to international warrant databases an increased number of foreign nationals residing in Thailand will be extradited to foreign jurisdictions as a result of increasing requests for extradition. Whether or not this will actually occur remains to be seen, but it is interesting to note the increasing trend of intergovernmental cooperation on an international level.

It should be noted that Royal Thai Immigration Police have begun integrating their system with warrant and criminal databases around the world. Therefore, there is reason to believe that this inter-connectivity could have a dramatic impact of Thai visa issuance and Immigration procedures in the future.

more Comments: 04

9th May 2010

In a recent statement, the Director of the Terrorist Screening Center (TSC), Timothy J. Healy, discussed the overall methodology of the Center and how it has had a positive impact upon anti-terrorism initiatives of both the United States and the global community. The following in an excerpt from the statement, which has been distributed by AILA:

Established in 2003, the TSC is a multi-agency center that connects the law enforcement communities with the Intelligence Community by consolidating information about known and suspected terrorists into a single Terrorist Screening Database, which is commonly referred to as the “Terrorist Watchlist.” The TSC facilitates terrorist screening operations, helps coordinate the law enforcement responses to terrorist encounters developed during the screening process, and captures intelligence information resulting from screening.


Of paramount significance is the TSC’s success in making this critical information accessible to the people who need it most – the law enforcement officers who patrol our streets, the Customs and Border Protection Officers who protect our borders, and our other domestic or foreign partners who conduct terrorist screening every day. In the six years since we began operations, the Terrorist Watchlist has become the world’s most comprehensive and widely shared database of terrorist identities. The current terrorist watchlisting and screening enterprise is an excellent example of interagency information sharing whose success is due to the superb collaborative efforts between the TSC, the FBI, the Department of Homeland Security (DHS), the Department of State, the Department of Defense, the National Counterterrorism Center (NCTC) and other members of the Intelligence Community.

It is interesting to note the international character of this initiative. In a previous posting on this blog the author noted that Thai Immigration authorities have begun linking their database to international and American information databases in order to more accurately investigate individuals who may be a threat to security.

On a related note, it should be mentioned that due to the new synergy that has arisen as a result of international cross referencing of criminal record databases those Americans living or staying in a foreign country could have significant problems if they have an American warrant as having a US Criminal warrant could result is passport confiscation by a Consular Officer at an American Citizen Services section of a US Consulate overseas. This usually happens when Americans with such warrants need to obtain a new passport or add pages to their current passport. In order to forestall these types of problems, it is advisable to speak to an American attorney in order to assess one’s options with regard to dealing with the matter in the legally prescribed manner.

For further information about Thai Immigration, please see: Thailand Visa.

more Comments: 04

8th May 2010

For those who do not know who the “Rebel Dog” is, then this story on Yahoo.com should be enlightening. The following is a direct quote from the aforementioned story:

Amid the turmoil of the Greece financial crisis, photos and videos of street protests have turned up a kind of canine “Where’s Waldo” figure: a mutt that may have some German shepherd genes, and clearly has a strong interest in civic disorder.

While one can’t be certain that it’s the same pooch at every protest — Athens is something of a magnet for street-savvy stray dogs — this mutt does sport a distinctive blue collar, which may indicate that, while he’s a stray, he’s also current on his shots.

By some accounts, the dog has been on the Athens protest scene ever since 2008 (though some say the 2008 pooch is a similar-looking dog named Kanellos who established himself as a fixture at demonstrations and died that year).

For those who have stayed in Bangkok, Thailand the site of Bangkok’s Soi Dogs is a common occurrence as the city boasts a large number of calm yet unowned Soi (or “Street” in English) Dogs. As Thai people have a primarily Buddhist mindset, their attitude towards these animals is, essentially: Live and Let Live. This attitude should not be mistaken for neglect or indifference as the Thai Humane Society and various other charitable organizations see to it that many of these animals are spade and/or neutered in an effort to keep the population of such animals low. Furthermore, the anecdotal evidence of instances of hostile Soi Dogs would seem to suggest that hostility on the part of the Soi Dogs is uncommon.

These animals are mostly fed by local street vendors or those living in neighborhoods that are chosen territory of the dogs. For the most part, Thai Soi Dogs are not considered a threat and some have even gone so far as to note the seeming indifference of the Bangkok Soi Dogs. In most cases, such dogs barely notice their human counterparts going about their business.

Since the beginning of the political protests in Thailand, this author has wondered if there would be any Soi Dog displacement as protesters take up positions in the streets formerly held by Soi Dogs. As of yet, there have been no dog’s with rebellious characteristics such as the one noted in Athens. This lack of canine rebellion may stem from the fact that Bangkok’s Soi Dos are less rebellious when compared to their Athenian counterparts.

For those interested in learning more information about Soi Dogs in Bangkok please see: Soi Dogs.


more Comments: 04

7th May 2010

ในเคสที่มีการพิจารณาและไต่สวนเมื่อไม่นานมานี้โดยศาลสูงสหรัฐ ปัญหาเรื่องสิทธิผู้อพยพในการได้รับคำปรึกษาทางกฎหมายได้ถูกหยิบยกขึ้นมาและผลของคดีทำให้เกิดความเห็นและเป็นจุดเปลี่ยนของสิทธิของผู้อพยพในสหรัฐอเมริกา คดีที่ว่าคือ คดี Padilla v. Kentucky ข้อความข้างล่างคัดมาจากอีเมลของ สำนักกฎหมาย Alice M. Yardum-Hunter

คดีเกี่ยวกับ ผู้ถือกรีนการ์ดอายุ 40 ปี โจเซ่ พาดิลลา ซึ่งทนายความคดีอาญาของเขาแนะนำให้เขาไม่ต้องกังวลเกี่ยวกับผลทางกฎหมายคนเข้าเมืองเมื่อจะสารภาพว่าทำความผิดทางอาญา คำแนะนำนั้นไม่เพียงแต่ผิดแต่คำสารภาพนั้นส่งผลให้คุณพาดิลลาโดนส่งตัวออกนอกประเทศสหรัฐอเมริกา ศาลสูงเคนตักกีกล่าวว่าคุณพาดิลลาไม่มีสิทธิถอนคำรับสารภาพนั้นเมื่อเขาทราบถึงการที่จะต้องถูกส่งตัวออกนอกสหรัฐอเมริกา ศาลสูงกลับคำพิพากษานั้นและปฏิเสธสถานภาพของรัฐบาลกลาง และหลักนี้ก็ถูกหลายๆศาลนำมาใช้ในเวลาต่อมา หลักที่ว่าคือ บุคคลที่ไม่มีสัญชาติอเมริกัน จะถูกปกป้องจาก คำแนะนำโดยมิชอบ เท่านั้น ไม่ใช่จากความล้มเหลวในการที่ทนายความไม่สามารถให้คำแนะนำเกี่ยวกับผลด้านกฎหมายคนเข้าเมืองของคำรับสารภาพ ศาลชี้ว่าที่ปรึกษาของคุณพาดิลลาไม่มีความสามารถพอและคำพูดผู้อพยพไม่ควรได้รับความเชื่อถือเมื่อเขาได้เชื่อในคำแนะนำที่ผิดๆจากทนายความของตนหรือเมื่อที่ปรึกษาไม่สามารถให้คำแนะนำทางด้านกฎหมายคนเข้าเมืองได้เลย

เรื่องราวของคดีนี้ชี้ให้เห็นว่าเป็นเรื่องสำคัญที่ทนายความที่ว่าความอยู่ในประเทศสหรัฐอเมริกาจะต้องให้คำแนะนำเกี่ยวกับผลทางกฎหมายสำหรับความผิดบางฐานในมุมมองของกฎหมายคนเข้าเมืองด้วย

เรื่องนี้ยังคงสำคัญต่อทนายความคนเข้าเมืองอเมริกันที่ทำงานอยู่นอกสหรัฐอเมริกเช่นกัน ตัวอย่างเช่น หากว่าผู้อยู่ในสหรัฐอเมริกาอย่างถาวรถูกกฎหมายอยู่ต่างประเทศและได้รับหมายเรียกในคดีอาญา หรือ หมายเรียกผู้ร้ายหลบหนี บุคคลนั้นควรจะขอคำปรึกษาจากทนายความอเมริกันที่อยู่นอกสหรัฐอเมริกา ในกรณีเช่นว่านี้ ทนายความผู้นั้น อ้างถึงหลักในคดีที่เพิ่งมีคำพิพากษาที่กล่าวไว้ข้างต้น จะต้องให้คำแนะนำเกี่ยวกับผลทางกฎหมายคนเข้าเมืองเมื่อผู้นั้นสารภาพว่าได้กระทำความผิดทางอาญาจริง

ตัวอย่างนี้แสดงให้เห็นเหตุผลอีกประการหนึ่งที่ว่าทำไมการขอคำแนะนำจากทนายที่สามารถว่าความในสหรัฐอเมริกาได้จึงมีความสำคัญยิ่งนัก เรื่องนี้ค่อนข้างสำคัญโดยเฉพาะอย่างยิ่งในประเทศอย่างประเทศไทยที่มี บริษัทรับทำวีซ่า เอเจนซี่ทำวีซ่า และทนายความและนักกฎหมายที่ไม่มีใบอนุญาติ และ ไม่มีคุณสมบัติมากมาย หลายๆคนไม่คำนึงถึงคำสารภาพสำหรับความผิดทางอาญาในมุมมองของกฎหมายคนเข้าเมือง และความไม่รู้นี่เองที่สามารถนำไปสู่ความลำบากแก่ผู้อพยพที่อยู่นอกสหรัฐอเมริกา

สำหรับข้อมูลเกี่ยวกับการเข้าเมืองสหรัฐอเมริกาจากประเทศไทย โปรดดู วีซ่าเค วัน จากประเทศไทย

To learn more information in English please see: US Visa Thailand.

more Comments: 04

6th May 2010

Few people realize that Puerto Rico is, for immigration purposes, part of the United States of America. This legal posture is enshrined in the United States Immigration and Nationality Act. In a recent posting on the Puerto Rico Federal Affairs Administration Website it was announced that the Puerto Rican authorities will be making sweeping changes to the rules effecting the issuance of birth certificates:

The government of Puerto Rico has enacted a new law (Law 191 of 2009) aimed at strengthening the issuance and usage of birth certificates to combat fraud and protect the identity and credit of all people born in Puerto Rico.

The new law was based on collaboration with the U.S. Department of State and the U.S. Department of Homeland Security to address the fraudulent use of Puerto Rico-issued birth certificates to unlawfully obtain U.S. passports, Social Security benefits, and other federal services.

Under the new law, all Puerto Rico birth certificates issued before July 1, 2010, will be invalidated so that new, more secure certificates can be issued. Until that date, all birth certificates will remain valid.

It is important to understand that there is no need to rush out and get a new birth certificate on July 1.  It is suggested that only people who have a specific need for their birth certificate for official purposes need request a new birth certificate right away.

As many may be aware, birth certificates are an integral component of many visa petition packages. This is particularly true for K1 visa petitions, K3 Visa petitions, IR1 and CR1 visa petitions. How these proposed chages will impact immigration to the United States from abroad, and from Puerto Rico, remains to be seen, but it is clear that government officials are taking the issue of fraud prevention seriously.

Birth certificates are such an important piece of documentation that some believe that it is clearly self evident that maintaining the integrity of such documents is vitally important in maintaining security in the United States of America. In the 50 United States, there have been innumerable programs that are intended to make it more difficult for individuals to obtain fraudulent documentation. It would appear that this overall policy is being extended to US territorial possessions in order to provide increased document security in the outlying jurisdictions of the United States of America.

For more information about births overseas and obtaining birth registration documentation from abroad please see: Consular Report of Birth Abroad. For information about registering Thai births overseas please see: Thai Consular Report of Birth Abroad.


more Comments: 04

6th May 2010

ในกระทู้ก่อนๆ เราได้อธิบายถึงขั้นตอนการขอวีซ่า เค ทรี การยื่นขอวีซ่าเค ทรี ในปัจจุบันกระบวนการขอวีซ่าเค ทรี กลายเป็นเรื่องที่เอาแน่เอานอนไม่ได้ เนื่องจาก NVC จะไม่เดินเรื่อง I129F สำหรับวีซ่า เค ทรี หากว่าคำขอ I 130 นั้นมาถึง NVC ก่อน หรือ พร้อมๆกับคำขอ I 129 F ต้องให้เครดิตกับ USCIS ที่ดำเนินการคำขอ I 129F และ I 130 รวดเร็วพอๆกัน อย่างไรก็ตามสำหรับคนที่ต้องการวีซ่าคู่สมรสแบบด่วน การพยายามของคุณอาจนำไปสู่สถานการณ์ที่คุณไม่อยากให้เกิดขึ้น


NVC ได้เคยบอกไว้ว่าจะหยุดดำเนินการคำขอ I 129F ในกรณีที่กล่าวไว้ด้านบน ซึ่งกรณีเช่นว่านี้ทำให้บุคคลที่แต่งงานกันภายใต้เขตอำนาจรัฐใดๆเพื่อขอวีซ่าคู่สมรสในเขตอำนาจสถานทูตในรัฐนั้นๆเป็นไปได้ยากขึ้น ภายใต้กฎเกณฑ์ที่ทำให้เกิดวีซ่า เค ทรี จะต้องดำเนินการขอวีซ่าในสถานทูตในเขตที่ที่คู่สมรสนั้นได้สมรสกัน ซึ่งเรื่องนี้ทำให้คู่สมรสหลายๆคู่สามารถ เลือกเขตอำนาจว่าจะขอวีซ่าผ่านทางประเทศใด ตัวอย่างเช่น ถ้าคู่สมรสอยากจะขอวีซ่าผ่านสถานทูตในอิตาลี ก็สามารถทำการสมรสในอิตาลีเพื่อให้มั่นใจได้ว่าเรื่องจะถูกดำเนินการที่อิตาลีแน่นอน

ในขณะนี้เป็นเพราะว่าอนาคตของวีซ่าเค ทรี ยังไม่แน่นอน ก็มีความเป็นไปได้ว่าการเลือกเขตอำนาจสถานทูตจะเป็นอดีตไป หมายความว่า วีซ่าถาวรเช่น CR1 และ IR1 อาจจะถูกส่งไปที่สถานทูตที่คู่สมรสต่างด้าวมีสัญชาติและสถานทูตและกงสุลมักจะดำเนินการคำขอของผู้มีสัญชาติที่ไม่ใช่ของประเทศตนโดยมารยาท และหากว่าไม่สะดวกก็จะส่งเรื่องไปยังสถานทูตที่ต้องเป็นผู้ดำเนินการ

หวังว่าการเปลี่ยนแปลงในครั้งนี้จะไม่เป็นปัญหาใดๆ นั่นหมายความว่า ตราบใดที่ USCIS ยังเดินเรื่อง I-130 ได้เร็ว ก็ดูเหมือนว่า NVC จะปิดเรื่อง เค ทรี และทำให้เป็นการป้องกันไม่ให้เกิดการเลือกเขตอำนาจสถานทูต สำหรับคู่หมั้นต่างด้าวในประเทศ เช่น พม่า กัมพูชา การเปลี่ยนแปลงนี้อาจทำให้เกิดความยากลำบากเนื่องจากประเทศทั้งสองมีระบบราชการที่ทำให้เกิดความยุ่งยากมากๆกับสตรีสัญชาติของตนที่แต่งงานกับชายอเมริกัน

สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมว่านโยบายของ NVC จะส่งผลต่อการขอวีซ่าคู่หมั้นอย่างไร โปรดดู K1 visa

more Comments: 04

4th May 2010

ในกระทู้ก่อนๆ เราได้พูดกันถึงเรื่องกฎภายในของ NVC ที่เปลี่ยนไป NVC ประกาศว่าให้มีผลตั้งแต่ วันที่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 NVC จะไม่ดำเนินการเกี่ยวกับคำขอ I 129F ที่เกี่ยวกับวีซ่าคู่สมรสอีกต่อไปหากว่า คำขอ I-130 มาถึง NVC ก่อนหรือพร้อมกับคำขอ I 129F มีคนที่สงสัยว่าจะมีผลต่อผู้ขอวีซ่าอย่างไร สำหรับคนที่จะขอวีซ่า เค ทรี ผลของประกาศนี้สำคัญมากเพราะในหลายๆเคส NVC จะเรียกให้ผู้ที่ต้องการขอวีซ่าคู่สมรสถาวรขอวีซ่าคู่สมรสเช่น IR1 หรือ CR1 แทนที่จะเป็นวีซ่าทางด่วนแบบ เค ทรี  อย่างไรก็ตามมีบางคนข้องใจว่าเรื่องนี้จะมีผลต่อวีซ่าคู่หมั้นอย่างไร

เพื่อขอวีซ่าคู่หมั้น บุคคลสัญชาติอเมริกันต้องยื่นคำขอ I-129F สำหรับวีซ่าเค วัน เมื่อคำขอได้รับการอนุมัติแล้ว จะถูกส่งต่อไปยัง NVC เพื่อตรวจสอบทางความมั่นคง หลังจากที่ตรวจสอบเสร็จเรียบร้อย จะถูกส่งต่อไปยังสถานทูตสหรัฐหรือกงสุลสหรัฐที่มีเขตอำนาจ ซึ่งก็อาจจะมีความสับสนเกิดขึ้นเนื่องจากบางคนอาจจะเข้าใจว่าคำขอ I 129F นั้นถูกยกเลิกสำหรับกรณีวีซ่าคู่หมั้นด้วย ซึ่งเรื่องนี้ไม่เป็นความจริงเนื่องจากการยกเลิกคำขอ I 129F นั้นเกิดขึ้นเฉพาะกับกรณีวีซ่า เค ทรี ไม่ใช่ วีซ่าเค วัน การเปลี่ยนแปลงที่ว่าไม่มีผลกับการขอวีซ่าเควันแต่อย่างใดเพราะกฎนี้มีขึ้นเพื่อเปลี่ยนแปลงการขอวีซ่าเค ทรี โดยเฉพาะ

ข้อดีของการพัฒนาในครั้งนี้ก็คือ NVC สามารถนำทรัพยากรบุคคลที่ดูแลเรื่องคำขอ I 129F สำหรับวีซ่าเค ทรี มาใช้ดูแลวีซ่าถาวรหรือวีซ่าคู่หมั้นก็เป็นได้ นั้นหมายความว่า ในความคิดเห็นของผู้เขียนนั้น ขั้นตอนการดำเนินการของวีซ่า เค วันนั้นค่อนข้างมีประสิทธิภาพยู่แล้ว และ NVC มักใช้เวลาไม่นานในการดำเนินการวีซ่าเค วัน ในเคสส่วนใหญ่ที่ดำเนินการโดยสถานทูตสหรัฐ ประจำประเทศไทย จะมีระยะเวลาการรอประมาณ 2 สัปดาห์ระหว่างที่ คำขอ I 129F ได้รับอนุมัติแล้วโดย USCIS และถูกส่งต่อจาก NVC มายังสถานทูต สำหรับคนทั่วๆไปก็เป็นระยะเวลาที่รอได้ และในกรณีวีซ่าถาวร ขั้นตอน NVC อาจจะนานขึ้นนิดหน่อยเนื่องจาก NVC ต้องการเอกสารมากขึ้นสำหรับวีซ่าถาวร เมื่อเทียบกับวีซ่าไม่อพยพ

For more information in English please see K1 visa or Fiance Visa Thailand.

more Comments: 04

3rd May 2010

For information in English please see: K3 Visa.

วีซ่าเค ทรี ถูกออกแบบมาเพื่อเป็นทางเลือกด่วนของวีซ่าคู่สมรสถาวร เช่นวีซ่า IR1 และ CR1 สมัยก่อนการขอวีซ่าคู่สมรสถาวรต้องใช้เวลาถึง 3 ปีซึ่งเป็นเหตุผลที่สภาคองเกรสได้ให้มีวีซ่า เค ทรี อย่างไรก็ตาม เมื่อไม่กี่ปีที่ผ่านมา ความจำเป็นที่จะต้องมีวีซ่าเค ทรี ได้มีน้อยลงเมื่อเทียบกับเวลาดำเนินการที่ใช้ในอดีต วีซ่าคู่สมรสถาวรใช้เวลาประมาณ 11-12 เดือน เมื่อเทียบระยะเวลานี้กับระยะเวลาขอวีซ่าเค ทรี ก็จะเห็นได้ว่าวีซ่าเค ทรีนั้นมีความจำเป็นน้อยลงทุกที

และเพราะเหตุนั้น NVC สังกัดกระทรวงต่างประเทศสหรัฐ ได้ออกประกาศที่เกี่ยวข้องกับวีซ่า เค ทรี ข้อความต่อไปนี้ ตัดมาจากบทความตีพิมพ์ของกระทรวงต่างประเทศเผยแพร่ สมาคมทนายความคนเข้าเมือง (AILA)

ประกาศสำคัญ : มีผลบังคับใช้ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ 2553 เมื่อคำขอ I-129F สำหรับวีซ่าเค ไม่ถาวี และ คำขอ I-130 สำหรับวีซ่า IR1 หรือ CR1 สำหรับคู่สมรสของบุคคลสัญชาติสหรัฐได้รับการอนุมัติจาก USCIS และถูกส่งมาที่ NVC การมีอยู่และความจำเป็นที่จะต้องออกวีซ่าไม่ถาวร เค ทรี ถือว่าสิ้นสุดลง หากว่า NVC ได้รับคำร้องทั้งสองประเภท:

วีซ่าเคไม่ถาวรจะถูกปิดเรื่อง ขั้นตอนการยื่นขอวีซ่าที่อธิบายไว้ด้านล่างไม่สามารถนำมาใช้ได้อีกต่อไป

NVC จะติดต่อผู้ยื่นขอและตัวคุณพร้อมทั้งขั้นตอนในการดำเนินการวีซ่าถาวร IR1 (หรือ CR1 ) สำหรับข้อมูลเพิ่มเติมเกี่ยวกับขั้นตอนการขอวีซ่า โปรดดูหน้าเว็บไซต์วีซ่าถาวรสำหรับคู่สมรส หากว่า NVC ไม่ได้รับคำขอ I-130 และ I 129F ในเวลาเดียวกันจะเดินเรื่องคำขอ I 129F (K1) ของคุณ และจะส่งคำขอไปยังสถานทูตหรือกงสุลในประเทศที่การสมรสเกิดขึ้น หากว่าการสมรสเกิดขึ้นในประเทศสหรัฐอเมริกา NVC จะส่งคำขอไปยังสถานทูตหรือกงสุลประเทศที่คุณมีสัญชาติ หากว่าการสมรสเกิดขึ้นในประเทศที่ไม่มีสถานทูตอเมริกัน หรือ เป็นสถานทูตที่ไม่สามารถออกวีซ่าให้ได้ NVC จะส่งคำขอไปยังสถานทูตหรือกงสุลที่ดำเนินการด้านวีซ่าให้แก่คนสัญชาตินั้นๆ ตัวอย่างเช่น หากว่าการสมรสเกิดขึ้นในประเทศอิหร่านซึ่งสหรัฐอเมริกาไม่มีสถานทูตอยู่ คำขอวีซ่าจะถูกส่งไปยังประเทศตุรกี” NVC

มีบางคนชอบถามตัวเองว่า ทั้งหมดนี้หมายความว่าอย่างไร USCIS พิจารณาคำขอวีซ่าทั้งหมดและเมื่ออนุมัติ จะส่งต่อไปยัง NVC ซึ่ง NVC จะจัดการกับคำขอวีซ่า เค ทรี ก่อนที่จะส่งไปยังกงสุลหรือสถานทูตในต่างประเทศ (สำหรับคำขอที่จะต้องดำเนินการในประเทศไทย NVC จะจัดการคำขอก่อนที่สถานทูตสหรัฐประจำกรุงเทพมหานครจะได้รับเรื่อง )

ประเด็นสำคัญคือ NVC จะไม่ดำเนินการวีซ่าเค ทรี หากว่าคำขอวีซ่าถาวรนั้นมาถึง NVC ก่อนหรือพร้อมกับคำขอวีซ่า เค ทรี ในทางปฏิบัติคำขอวีซ่าเค ทรี ทั้งหมดมีคู่ฉบับวีซ่าถาวร เชื่อได้ว่า โดยส่วนมาก  NVC รับคำขอพวกนี้ในเวลาไล่เลี่ยกัน หรือเกือบจะพร้อมๆกัน อาจจะมีบางกรณีที่คำขอเค ทรีไปถึง NVC ก่อนคำขอวีซ่าถาวร แต่โดยส่วนใหญ่นี่ไม่ใช่ประเด็น จากการสังเกตพบว่าอาจจะไม่มีวีซ่าเค ทรีสำหรับผู้ที่ต้องการขอวีซ่าคู่สมรสเนื่องจากคำขอวีซ่าถาวรจะถึง NVC ก่อน หรือพร้อมๆกับคำขอวีซ่า เค ทรี นั่นเอง

more Comments: 04

2nd May 2010

The issue of Comprehensive Immigration Reform seems to be more hotly debated as the mid-term Congressional elections in the United States approach. Recently, President Barack Obama was quoted as saying:

What has become increasingly clear is that we can no longer wait to fix our broken immigration system, which Democrats and Republicans alike agree doesn’t work. It’s unacceptable to have 11 million people in the United States who are living here illegally and outside of the system. I have repeatedly said that there are some essential components that must be in immigration legislation. It must call for stronger border security measures, tougher penalties for employers who hire illegal immigrants and clearer rules for controlling future immigration. And it must require those who are here illegally to get right with the law, pay penalties and taxes, learn English, pass criminal background checks and admit responsibility before they are allowed to get in line and eventually earn citizenship. The outline presented today includes many of these elements. The next critical step is to iron out the details of a bill. We welcome that discussion, and my Administration will play an active role in engaging partners on both sides of the aisle to work toward a bipartisan solution that is based on the fundamental concept of accountability that the American people expect and deserve.

Many argue that the United States Immigration system needs to be modified as it is proving to be too inflexible when it comes to dealing with some of the important immigration problems of the day. A case in point is the debate on Same Sex US Immigration benefits for bi-national couples. At present, same-sex bi-national couples cannot receive the same family immigration benefits as different sex couples due to provisions in the Defense of Marriage Act (DOMA). In short these couples cannot receive a same sex marriage visa. Many hope that by placing specific legislative language akin to the provisions of the Uniting American Families Act (UAFA) into the Comprehensive Immigration bill this policy of providing disproportionate benefits will come to an end.

Overall, the current immigration system has improved for those seeking immediate relative immigration benefits (IR1, CR1, IR2, etc). For example, the  National Visa Center has begun administratively closing K3 Visa applications as the need for such expedited travel documents is felt to be no longer necessary for those seeking immigrant benefits since USCIS no longer has a high backlog for such petitions. The K1 visa is still processing in the same manner as it has in the past. However, some of the preference petition categories are still processing quite slowly. Also, this brief assessment does not look at employment based immigration issues associated with visa categories such as the L1 visa and the E2 visa nor does it begin to tackle to issue of undocumented workers and immigrants in the USA.

For further information on this issue please see: Fiance Visa Thailand.

more Comments: 04

The hiring of a lawyer is an important decision that should not be based solely on advertisement. Before you decide, ask us to send you free written information about our qualifications and experience. The information presented on this site should not be construed to be formal legal advice nor the formation of a lawyer/client relationship.